สท. พร้อมเปิด AGRITEC Station ต้อนรับคณะผู้เข้าร่วมประชุม Asian Seed Congress 2022

สท. พร้อมเปิด AGRITEC Station ต้อนรับคณะผู้เข้าร่วมประชุม Asian Seed Congress 2022

สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) สวทช. เตรียมพร้อมเปิด AGRITEC Station สถานีเรียนรู้เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการเกษตร ต้อนรับคณะผู้เข้าร่วมประชุมงานประชุมเมล็ดพันธุ์พืชแห่งเอเชียและแปซิฟิก ประจำปี 2565 (Asian Seed Congress 2022) ในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2565 โดยจะนำเสนอเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรอัจฉริยะ อาทิ โรงเรือนอัจฉริยะ, ไวมาก: ระบบตรวจวัดสภาวะแวดล้อมด้วยเทคโนโลยี IoT, HandySense: ระบบเกษตรแม่นยำ ฟาร์มอัจฉริยะ เทคโนโลยีด้านเมล็ดพันธุ์ จัดแสดงตัวอย่างพันธุ์พืชจากผลงานวิจัยของ สวทช. และเครือข่ายพันธมิตร อาทิ พริกพันธุ์อัคนีพิโรธ เพชรมอดินแดง เรดซันอีสาน หยกขาวมอดินแดง มะเขือเทศพันธุ์นิลมณี ชายนี่ ควีน ซัมเมอร์ซัน

ถั่วเขียวพันธุ์ดี KUML

ถั่วเขียวพันธุ์ดี KUML

สื่อสิ่งพิมพ์ (โปสเตอร์) ถั่วเขียว 6 สายพันธุ์ใหม่ เพิ่มผลผลิตต้านทานโรค (แผ่นพับ) ถั่วเขียว : พืชทางเลือก สร้างรายได้ สู้ภัยแล้ง (ใบปลิว) การเก็บเกี่ยวและการจัดการหลังเก็บเกี่ยวถั่วเขียว (โปสเตอร์) การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียว KUML บ้านดอนหวาย (ใบปลิว) ถั่วเขียว-ถั่วงอกคอนโด (Roll up) ถั่วเขียว KUML-การผลิต-แปรรูป (คู่มือ) ปลูกถั่วเขียวพันธุ์ดีด้วยความรู้ ให้ผลผลิตสูง รายได้งาม สื่อวิดีโอ EP 1 KUML ถั่วเขียวพันธุ์ดี ประโยชน์ทวีคูณ EP 2 ลงมือปลูกถูกวิธี คุณภาพดี ผลผลิตงาม EP

สวทช. ผนึกพันธมิตรยกระดับคุณภาพ-มาตรฐานการปลูกพืชสมุนไพร ใช้กลไกตลาดนำการผลิต สร้างรายได้ให้เกษตรกรในพื้นที่ทุ่งกุลา

สวทช. ผนึกพันธมิตรยกระดับคุณภาพ-มาตรฐานการปลูกพืชสมุนไพร  ใช้กลไกตลาดนำการผลิต สร้างรายได้ให้เกษตรกรในพื้นที่ทุ่งกุลา

(วันที่ 17 กันยายน 2565) ณ ห้องประชุมศรีพฤทเธศวร ชั้น 5 ศาลากลางจังหวัดศรีสะเกษ: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือโครงการ “การยกระดับคุณภาพชีวิตพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม: ด้านพืช สมุนไพร” ร่วมกับ 3 จังหวัดในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ ศรีสะเกษ ร้อยเอ็ด มหาสารคาม รวมทั้งสถาบันการศึกษาในพื้นที่ นำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ยกระดับการปลูกพืชสมุนไพร นำร่องขิง ไพล ฟ้าทะลายโจร พร้อมเชื่อมโยงบริษัท โอสถสภา จำกัด (มหาชน) และบริษัท กุยลิ้มฮึ้ง จำกัด รับซื้อผลผลิตคุณภาพตอบโจทย์ความต้องการตลาด เปิดช่องทางการตลาดใหม่ สร้างเศรษฐกิจชุมชนและฐานรากให้ยั่งยืนโดยใช้ฐานทรัพยากรในพื้นที่ ศาสตราจารย์

วิสาหกิจชุมชนปันบุญ

วิสาหกิจชุมชนปันบุญ

เริ่มแรกเลยเราทำนาอินทรีย์ซึ่งทำยาก คนเฒ่าคนแก่หลายคนก็ท้อ ได้แต่บอกว่าให้ทำต่อ อดทน ทำนาอินทรีย์มันยาก แต่เราได้บุญ ทำผักอินทรีย์ ผักที่ไม่มียา มันก็ได้บุญ -สุจารี ธนสิริธนากร- คือที่มาของชื่อ “สวนปันบุญ” แหล่งผลิตข้าวและผักอินทรีย์ที่คนปลูกเชื่อมั่นว่าคือสิ่งดีๆ ที่อยากแบ่งปัน นับแต่ก่อตั้งกลุ่ม “วิสาหกิจชุมชนปันบุญ” เมื่อปลายปี 2555 โดยมี สุจารี ธนสิริธนากร เป็นหัวเรือสำคัญที่เปิดรับและปรับเปลี่ยนนำพากลุ่มฯ พัฒนาจนกลายเป็น “ศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์ปันบุญ” ที่ผลผลิตทั้งข้าวและผักได้การรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรอินทรีย์ (Organic Thailand) สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ร่วมดำเนินงานกับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนปันบุญเมื่อปี 2561 ผ่านการเชื่อมโยงเครือข่ายจากวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์โนนกลาง โดยทำงานร่วมกับกรมวิชาการเกษตร ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาฬสินธุ์ (ศวพ.กาฬสินธุ์) มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (ราชบุรี) และบริษัท

หลักสูตรอบรมออนไลน์ “ปลูกผักอย่างฉลาด ลดความเสี่ยง เลี่ยงขาดทุน”

หลักสูตรอบรมออนไลน์ “ปลูกผักอย่างฉลาด ลดความเสี่ยง เลี่ยงขาดทุน”

ผักไม่โต ผักเป็นโรค หนอนกินผัก ผักเน่า ผักไม่สด ปลูกแล้วขายไม่ได้ ขายไม่หมด  ฯลฯ สารพัดปัญหาที่คนปลูกผักต้องเคยเจอ …ทำอย่างไรจะจัดการปัญหาเหล่านี้ได้ หลักสูตรอะไร เรียนเมื่อไหร่ เรียนกับใคร สมัครอย่างไร หลักสูตรอะไร “การบริหารความเสี่ยง” (Risk Management) เป็นกระบวนการที่หน่วยงาน/องค์กรใช้เพื่อลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ทำให้คาดการณ์เหตุการณ์ล่วงหน้า เพื่อเตรียมวิธีการลดโอกาสและผลกระทบ เพื่อลดความสูญเสียและเพิ่มโอกาสความสำเร็จ  การบริหารความเสี่ยงจึงเป็นกระบวนการที่เกษตรกรสามารถนำมาใช้เพื่อลดความเสี่ยงการผลิตพืชผักจากปัญหาต่างๆ ได้ โดยต้องอาศัยทั้งองค์ความรู้ทางวิชาการและประสบการณ์การปลูก เพื่อให้ “การผลิตผักทุกครั้ง ได้ผลผลิตทุกครั้ง” “การบริหารความเสี่ยงในการผลิตพืชผัก” คือ กระบวนการคิดและวางแผนที่เป็นระบบและต่อเนื่อง โดยทำตั้งแต่ก่อนปลูกเพื่อลดโอกาสการเกิดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ หรือควบคุมได้หรือประเมินได้ และที่สำคัญต้องตรวจสอบการปลูกได้   จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) ส่งผลกระทบต่อการจัดกิจกรรมถ่ายทอดเทคโนโลยี สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.)