กำหนดการปฐมนิเทศโครงการโรงประลองต้นแบบทางวิศวกรรม (Fabrication Lab)

 

กำหนดการปฐมนิเทศ

โครงการโรงประลองต้นแบบทางวิศวกรรม (Fabrication Lab) เพื่อพัฒนาทักษะความเป็นนวัตกรแก่เด็กและเยาวชนไทย

ในวันพฤหัสบดีที่ 7 มิถุนายน 2561 เวลา 09.00 – 16.00 น.

ณ ห้องออดิทอเรียม อาคารศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ (อาคาร CC)

อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย สวทช. จ.ปทุมธานี

…………………………………………………………………………….

08.30 น.                       ลงทะเบียนร่วมงาน

09.00 – 09.05 น.           ชมวิดีทัศน์

09.05 – 09.30 น.           กล่าวเปิด และกล่าวถึงนโยบายรัฐบาลกับการสร้างคนให้พร้อมในยุค Thailand 4.0 และโครงการโรงประลองต้นแบบทางวิศวกรรม     
                                     (Fabrication Lab) เพื่อพัฒนาทักษะความเป็นนวัตกรรมแก่เด็กและเยาวชนไทย 
  
                                  โดย ดร.อ้อมใจ ไทรเมฆ   ผู้ช่วยผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

09.30 – 09.45 น.           รับประทานอาหารว่าง

09.45 – 10.30 น.           Fabrication Lab กับการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาของประเทศไทย  
                                  โดย รองศาสตราจารย์ ธีรวัฒน์ ประกอบผล  คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

10.30 – 11.15 น.           ศาสตร์และศิลป์ของการพัฒนาการเรียนรู้โดยใช้ Fabrication Lab  
                                  โดย  ดร.อานันท์ สีห์พิทักษ์เกียรติ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายนวัตกรรมการเรียนรู้ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

11.15 – 12.00 น.           ประสบการณ์การพัฒนาโครงการ FabLearn Lab ในโรงเรียน  
                                   โดยนางสาวนลิน ตุติยาพึงประเสริฐ  ผู้อำนวยการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ โรงเรียนดรุณสิกขาลัยแห่งมหาวิทยาลัย
                                   เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

12.00 – 13.00 น.           รับประทานอาหารกลางวัน

13.00 – 16.00 น.           กิจกรรมภาคบ่าย

 

ห้อง 1 :  สำหรับผู้บริหารและครู

13.00 – 16.00 น.           มหาวิทยาลัยพี่เลี้ยง และโรงเรียนวางแผนดำเนินงานร่วมกัน (แบ่ง 10 กลุ่ม)

 

ห้อง 2 : สำหรับนักเรียน    เสวนา “Fabrication Lab ของนักเรียนไทย 4.0 และ Maker”

13.00 – 14.15 น.              เสวนา “Fabrication Lab ของนักเรียนไทย 4.0 และ Maker”

  1. คณะครูและนักเรียนจากโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรี  

          เหตุผลที่เชิญโรงเรียนนี้

          สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) ได้ดำเนินงาน “โครงการจัดตั้งห้อง STEM Lab ในโรงเรียน” โดยนำร่องจัดตั้งห้อง STEM Lab หรือห้อง Maker Space ในโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรี และโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี ซึ่งปัจจุบันเป็นต้นแบบขยายผลมายังโครงการโรงประลองต้นแบบทางวิศวกรรม (Fabrication Lab) เพื่อพัฒนาทักษะความเป็นนวัตกรแก่เด็กและเยาวชนไทย ของ สวทช. นี้

คณะวิทยากร

  • นายธีรพงค์ อ่อนอก                 หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ครูสอนฟิสิกส์)
  • นายวศิน แซ่เจ็ง                     วิศวกรผู้ดูแลห้อง STEM Lab
  • นางสาวมัชฌิมา มีหิรัญ            นักเรียนมัธยม 6 โครงงาน “เตาเก็บความร้อน”
  • นางสาวณัฐธิดา แคลลา           นักเรียนมัธยม 6 โครงงาน “แปลงลบกระดานไร้ฝุ่น”
  • นางสาวปุญญภา อมาตยกุล      นักเรียนมัธยม 6 โครงงาน “หุ่นยนต์นกเยี่ยว”
  • นางสาวลิฬลณี อิ่มใจ              นักเรียนมัธยม 6 โครงงาน “เครื่องตรวจหาเส้นเลือดดำ”
  • นางสาวปสุตา ไพศาลพานิช     นักเรียนมัธยม 6 โครงงาน “หุ่นยนต์แท็กเส้น”
  1. คณะครูและนักเรียนจากโรงเรียนดรุณสิกขาลัยแห่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี  

          เหตุผลที่เชิญโรงเรียนนี้

  • เมื่อปี พ.ศ.2552 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. Paulo Blikstein แห่ง Graduate School of Education มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด ได้นำแนวคิด FabLab มาปรับใช้กับสถานศึกษา และจัดตั้งโครงการ FabLearn Lab ขึ้นมา
  • ทั้งนี้ โรงเรียนดรุณสิกขาลัยเป็นโรงเรียนในประเทศไทยที่เข้าร่วมเป็นเครือข่าย FabLearn Lab ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 เป็นต้นมา และได้เป็นส่วนสำคัญในการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ภายในห้องปฏิบัติการ และเผยแพร่องค์ความรู้และประสบการณ์ในระดับนานาชาติ ทั้งในการการประชุมสัมมนาวิชาการ FabLearn Conference ซึ่งจัดขึ้นที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด โดยมีนักเรียนไทยได้รับคัดเลือกไปนำเสนอผลงานในเวทีนักประดิษฐ์รุ่นเยาว์ที่มีผลงานโดดเด่นอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558

คณะวิทยากร

  • นายอิทธิชัย รัตนถาวร Facilitator บ้านวิศวกรรม ดรุณสิกขาลัย โรงเรียนนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้
  • นายธัชพล เฮงอนุพันธ์ (น้องแธน) นักเรียนมัธยม 4 โครงงาน “โดรน 3 แกน จากไม้ไผ่ไทย”
  • นางสาวรมันยา ดอนมะยา (น้องแก้ม) นักเรียนมัธยม 6 โครงงาน “สื่อการเรียนรู้ระบบกะโหลก Skull on my mind”
  • เด็กหญิงชยาทิพย์ ดาคา (น้องลูกบัว) นักเรียนมัธยม 4 โครงงาน “เครื่องบินจากกล่องนม”
  • เด็กชายปัณณวิชญ์ บุญโต (น้องนีร) นักเรียนมัธยม 2 โครงงาน “microbit ระบะตามหาเด็กที่พลัดหลงจากผู้ปกครอง”
  1. ประเด็นปิดท้าย   
    ให้วิทยากรให้คำแนะนำแก่ผู้ฟัง ในการสร้าง Maker Club ในโรงเรียน และปลูกฝังวัฒนธรรม Maker ในโรงเรียน

14.15 – 14.30 น.           รับประทานอาหารว่าง

14.30 – 16.00 น.           เสวนา “Fabrication Lab ของนักเรียนไทย 4.0 และ Maker”

 

  1. Maker 3 คน
  • นายพาโชค พิมเลขา   
    กรรมการผู้จัดการ บริษัท โชคอินเตอร์เทค จำกัด  อาจารย์พิเศษ ภาควิชาเกษตรกลวิธาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน  
  • นายนิมิตร หงษ์ยิ้ม   
    กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซิโนเล็กซ์ อินเตอร์ชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด  อาจารย์คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ วิทยาเขตนนทบุรี
  • นายชวัลวิทย์ พูลศรี   
    นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 4 กองเทคโนโลยีสารสนเทศน้ำสูญเสีย  สำนักเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ การประปาส่วนภูมิภาค (สำนักงานใหญ่)

ประเด็นนำเสนอ

1) นายพาโชค : maker คืออะไร? maker ในประเทศไทย? ประสบการณ์ของตนเองใน maker ประเทศไทย

2) นายนิมิตร : วงการ maker ต่างประเทศ? career path ของ maker? ประสบการณ์ของตนเองในวงการ maker ในไทย-ต่างประเทศ

3) นายชวัลวิทย์ : การเรียนรู้ด้วยตนเองที่เริ่มจากศูนย์? สร้างองค์ความรู้ของตนเองได้อย่างไร? เครื่องมือที่ใช้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง, logic ของชีวิตที่กระตุ้นให้ตนเองสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ

4) ประเด็นปิดท้าย 
    ให้วิทยากรให้คำแนะนำแก่ผู้ฟัง ในการสร้าง Maker Club ในโรงเรียน และปลูกฝังวัฒนธรรม Maker ในโรงเรียน

หรือที่ facebook page ของโครงการ FabLabThailand

Post Views: 296