ผลงานวิจัย – NAC2021 http://10.228.26.24:31824/nac/2021 16th NSTDA Annual Conference Tue, 04 May 2021 07:21:18 +0000 en-US hourly 1 https://wordpress.org/?v=6.1.1 http://10.228.26.24:31824/nac/2021/wp-content/uploads/2021/02/cropped-nac-web-logo-01-32x32.png ผลงานวิจัย – NAC2021 http://10.228.26.24:31824/nac/2021 32 32 KidBright AI Platform http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/20/na23-kidbright-ai-platform/ Sat, 20 Mar 2021 07:05:42 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=17655 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย กลุ่มวิจัยการสื่อสารและเครือข่าย (CNWRG) ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอวพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) แพลตฟอร์มสื่อการเรียนรู้ระบบปัญญาประดิษฐ์ที่จะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจกระบวนการพัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์ ผ่านการสร้างชุดคําสั่งแบบบล็อก (Blockly Programming) และสามารถเชื่อมต่อกับเซนเซอร์ได้หลากหลายทั้งอินพุตและเอาต์พุต เพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ คิด วิเคราะห์ และสร้างสรรค์ จุดเด่นของผลงาน สอนกระบวนการเรียนรู้การพัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์ตั้งแต่การเก็บข้อมูล การติดป้ายกํากับ การสร้างโมเดลปัญญาประดิษฐ์ และการประยุกต์ใช้งานบนอุปกรณ์เดียว รองรับการเชื่อมต่อจากเซนเซอร์ได้หลากหลายทั้งอินพุตและเอาต์พุตผ่าน Robot Operation System (ROS) สร้างโมเดลปัญญาประดิษฐ์ได้ทั้งของข้อมูลภาพและเสียง สามารถทํางานได้ทั้งบนฮาร์ดแวร์ หรือบนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บเบราว์เซอร์ เปิด Open Source ให้นําไปใช้งานเพื่อประโยชน์ทั้งด้านการศึกษา สังคมและเชิงพาณิชย์ กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ผู้สนใจที่เริ่มเรียนรู้ระบบปัญญาประดิษฐ์ เริ่มเรียนรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้ผ่าน KidBright AI IDE Web version 1.0 ที่ www.kid-bright.org/ai/downloads ติดต่อสอบถาม ทีมวิจัยเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา (EDT) กลุ่มวิจัยการสื่อสารและเครือข่าย (CNWRG) ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอวพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ […]

The post KidBright AI Platform appeared first on NAC2021.

]]>

KidBright AI Platform

KidBright AI Platform

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

กลุ่มวิจัยการสื่อสารและเครือข่าย (CNWRG)
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอวพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)

        แพลตฟอร์มสื่อการเรียนรู้ระบบปัญญาประดิษฐ์ที่จะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจกระบวนการพัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์ ผ่านการสร้างชุดคําสั่งแบบบล็อก (Blockly Programming) และสามารถเชื่อมต่อกับเซนเซอร์ได้หลากหลายทั้งอินพุตและเอาต์พุต เพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ คิด วิเคราะห์ และสร้างสรรค์

จุดเด่นของผลงาน

  • สอนกระบวนการเรียนรู้การพัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์ตั้งแต่การเก็บข้อมูล การติดป้ายกํากับ การสร้างโมเดลปัญญาประดิษฐ์ และการประยุกต์ใช้งานบนอุปกรณ์เดียว
  • รองรับการเชื่อมต่อจากเซนเซอร์ได้หลากหลายทั้งอินพุตและเอาต์พุตผ่าน Robot Operation System (ROS)
  • สร้างโมเดลปัญญาประดิษฐ์ได้ทั้งของข้อมูลภาพและเสียง
  • สามารถทํางานได้ทั้งบนฮาร์ดแวร์ หรือบนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บเบราว์เซอร์
  • เปิด Open Source ให้นําไปใช้งานเพื่อประโยชน์ทั้งด้านการศึกษา สังคมและเชิงพาณิชย์

กลุ่มเป้าหมาย

  • นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
  • ผู้สนใจที่เริ่มเรียนรู้ระบบปัญญาประดิษฐ์

เริ่มเรียนรู้ด้วยตนเอง

        เรียนรู้ผ่าน KidBright AI IDE Web version 1.0 ที่ www.kid-bright.org/ai/downloads

ติดต่อสอบถาม

ทีมวิจัยเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา (EDT)
กลุ่มวิจัยการสื่อสารและเครือข่าย (CNWRG)
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอวพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)

ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ:

The post KidBright AI Platform appeared first on NAC2021.

]]>
นวัตกรรมสื่อการสอนด้วย KidBright http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/17/na15-kidbright-learning-innovation/ Wed, 17 Mar 2021 02:29:09 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=15214 การส่งเสริมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้กับโรงเรียนในอำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี         การจัดอบรมครูทั้ง 12 ท่าน จาก 10 โรงเรียนในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี ได้แก่ โรงเรียนวัดตะวันเรือง โรงเรียนจารุศรบำรุง โรงเรียนวัดกลางคลองสาม โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๖๙ (คลองหลวง) โรงเรียนบ้านคลองเจ้าเมือง โรงเรียนคลองบางโพธิ์ โรงเรียนคลองสอง (เสวตสมบูรณ์อุปถัมภ์) โรงเรียนสามัคคีราษฎร์บํารุง โรงเรียนวัดสองพี่น้อง และโรงเรียนวัดฉาง เริ่มต้นจากช่วงสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทางสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ภายใต้ โครงการ “การส่งเสริมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้กับโรงเรียนในอำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี” และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 จึงริเริ่มโครงการอบรมเชิงปฏิบัติเพื่อนำร่องการจัดการเรียนการสอนเชิงปฏิบัติการด้าน Coding แบบ Online โดยมีวิศวกรจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) เป็นวิทยากร ระยะเวลาอบรมแบบ Online ทั้งหมด 26 ชั่วโมง       […]

The post นวัตกรรมสื่อการสอนด้วย KidBright appeared first on NAC2021.

]]>

การส่งเสริมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้กับโรงเรียนในอำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี

        การจัดอบรมครูทั้ง 12 ท่าน จาก 10 โรงเรียนในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี ได้แก่ โรงเรียนวัดตะวันเรือง โรงเรียนจารุศรบำรุง โรงเรียนวัดกลางคลองสาม โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๖๙ (คลองหลวง) โรงเรียนบ้านคลองเจ้าเมือง โรงเรียนคลองบางโพธิ์ โรงเรียนคลองสอง (เสวตสมบูรณ์อุปถัมภ์) โรงเรียนสามัคคีราษฎร์บํารุง โรงเรียนวัดสองพี่น้อง และโรงเรียนวัดฉาง เริ่มต้นจากช่วงสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทางสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ภายใต้ โครงการ “การส่งเสริมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้กับโรงเรียนในอำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี” และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 จึงริเริ่มโครงการอบรมเชิงปฏิบัติเพื่อนำร่องการจัดการเรียนการสอนเชิงปฏิบัติการด้าน Coding แบบ Online โดยมีวิศวกรจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) เป็นวิทยากร ระยะเวลาอบรมแบบ Online ทั้งหมด 26 ชั่วโมง

        เมื่อสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) คลี่คลายขึ้น ทางโครงการฯ จึงจัดอบรมเชิงปฏิบัติการแบบ Offline ขึ้น ณ โรงประลองต้นแบบทางวิศวกรรม หรือ Fabrication Laboratory ของบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร เมื่อวันที่ 14 – 16 สิงหาคม 2563 คุณครูต้นแบบทั้ง 12 ท่าน และทีมวิศวกรจาก NECTEC มาร่วมระดมสมองและสร้างสรรค์ผลงานสื่อนวัตกรรมการเรียนการสอนขึ้น และสื่อการสอนได้นำไปใช้ในการเรียนการสอนจริงในชั้นเรียน

      ต้นแบบนวัตกรรมที่มีการเชื่อมโยง AI ในการจัดการเรียนการสอน Coding โดยครูต้นแบบ ดังตาราง และสามารถอ่านรายละเอียดสื่อการสอน 12 ผลงาน ได้ที่ http://bit.ly/3bS8kOx

ตารางแสดงรายละเอียดสื่อการสอน 12 ชิ้นงาน

การวัดอุณหภูมิ

โดย นางสาวอมรรัตน์ แสงมิ
โรงเรียนวัดตะวันเรือง

ภูมิใจภาษาไทยของเรา

โดย นางสาวอรอนงค์ ครองพงษ์
โรงเรียนจารุศรบำรุง

สิ่งมีชีวิตและชีวิตของพืช

โดย นางสาวศศินันท์ หรุ่นบุญลือ
โรงเรียนคลองสอง (เสวตสมบูรณ์อุปถัมภ์)

วงล้อหรรษาพาหนูจดจำผังงาน

โดย นางสาวขวัญแก้ว นุ่มปั่น
โรงเรียนคลองบางโพธิ์

เกมเรียงลำดับอัลกอริทึม ด้วย KidBright-GoGo Bright

โดย นางสาวประภาศรี เที่ยงธรรม
โรงเรียนวัดกลางคลองสาม

Genius Matching Board

โดย นางสาวกรกนก คานนิม
โรงเรียนจารุศรบำรุง

กระดานสื่อ (อุปกรณ์คอมพิวเตอร์)

โดย นายอภิชาติ เมืองคำ
โรงเรียนวัดสองพี่น้อง

Science and Coding Box

โดยนางสาวจิราพร จำปาเทศ
โรงเรียนคลองสอง (เสวตสมบูรณ์อุปถัมภ์)

กระดาน 24 หรรษาพาคิด

โดย นางสาวบุญชนก ศิลทอง
โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 69 (คลองหลวง)

อัลกอริทึม (โฟลว์ชาร์ต) น่ารู้

โดย ว่าที่ร้อยตรีสันติสุข ช่างเย็น
โรงเรียนสามัคคีราษฎร์บํารุง

Coding Board

โดย นางสาวอัจฉริยา สุรวรเชษฐ
โรงเรียนวัดฉาง

ปริศนาจับคู่ อัลกอริทึม

โดย นายวรนารถ แสงนคร
โรงเรียนบ้านคลองเจ้าเมือง

ติดต่อสอบถาม

วสุ ทัพพะรังสี (หัวหน้าโครงการ)

The post นวัตกรรมสื่อการสอนด้วย KidBright appeared first on NAC2021.

]]>
ZpecSen: สเปกโตรมิเตอร์สำหรับมือถือ (Mobile Spectrometer) http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/17/na27-zpecsen-mobile-spectrometer/ Tue, 16 Mar 2021 17:33:24 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=15134 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย กลุ่มวิจัยอุปกรณ์สเปกโทรสโกปีและเซนเซอร์ (SSDRG) ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) วิทยาศาสตร์เป็นองค์ความรู้ที่ซับซ้อน ซึ่งอยู่บนพื้นฐานของกระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุมีผล การเข้าใจเนื้อหาวิชาวิทยาศาสตร์จึงต้องใช้ความพยายามและจินตนาการของผู้เรียนอย่างสูง แต่ ในปัจจุบัน โรงเรียนหลายแห่งไม่มีอุปกรณ์การเรียนการสอนทางด้านวิทยาศาสตร์ที่ทันสมัยและไม่เพียงพอต่อความต้องการ ซึ่งส่วนหนึ่งเกิดจาก อุปกรณ์วิทยาศาสตร์นั้นมีราคาแพงและตามไม่ทันเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว โอกาสที่นักเรียนจะเข้าถึงอุปกรณ์วิทยาศาสตร์เหล่านี้จึงเป็นไปได้ยาก นักเรียนจึงถูกจำกัดการเรียนรู้แค่ในตำราเรียน ซึ่งนำปสู่ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของนักเรียนที่ลดลง หรือนักเรียนไม่สามารถเข้าใจในเนื้อหาและวัตถุประสงค์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้อย่างแท้จริง ZpecSen หรือ เครื่องสเปกโตรมิเตอร์แบบพกพาที่ใช้งานร่วมกับสมาร์ทโฟน ZpecSen ถูกออกแบบให้ติดตั้งกับสมาร์ทโฟนได้สะดวก ใช้งานง่ายผ่าน Mobile Application ที่ชื่อว่า ZpecSen App และตอบโจทย์การใช้งานได้หลากหลาย โดยมาพร้อมกับ 2 ช่องการตรวจวัด ที่ช่วยให้ตรวจวัดวัตถุโปร่งแสง 2 ชนิดได้พร้อมกัน หรือตรวจวัดแหล่งกำเนิดแสงชนิดต่าง ๆ โดยแสดงข้อมูลเชิงแสงผ่าน กราฟสเปกตรัมในรูปแบบความเข้มแสงที่ความยาวคลื่นต่าง ๆ ได้อย่างละเอียดและแม่นยำ แนะนำการใช้งาน ZpecSen เบื้องต้น “การแนะนำการใช้งาน ZpecSen เบื้องต้น” ได้แก่ การรวบรวมข้อมูลสำคัญ แนะนำต้นแบบ พร้อมทั้งสอนวิธีการติดตั้ง และวิธีใช้งานเบื้องต้น ส่งเสริมการเรียนรู้ […]

The post ZpecSen: สเปกโตรมิเตอร์สำหรับมือถือ (Mobile Spectrometer) appeared first on NAC2021.

]]>

ZpecSen: สเปกโตรมิเตอร์สำหรับมือถือ (Mobile Spectrometer)

ZpecSen: สเปกโตรมิเตอร์สำหรับมือถือ (Mobile Spectrometer)

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

กลุ่มวิจัยอุปกรณ์สเปกโทรสโกปีและเซนเซอร์ (SSDRG)
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)

        วิทยาศาสตร์เป็นองค์ความรู้ที่ซับซ้อน ซึ่งอยู่บนพื้นฐานของกระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุมีผล การเข้าใจเนื้อหาวิชาวิทยาศาสตร์จึงต้องใช้ความพยายามและจินตนาการของผู้เรียนอย่างสูง แต่ ในปัจจุบัน โรงเรียนหลายแห่งไม่มีอุปกรณ์การเรียนการสอนทางด้านวิทยาศาสตร์ที่ทันสมัยและไม่เพียงพอต่อความต้องการ ซึ่งส่วนหนึ่งเกิดจาก อุปกรณ์วิทยาศาสตร์นั้นมีราคาแพงและตามไม่ทันเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว โอกาสที่นักเรียนจะเข้าถึงอุปกรณ์วิทยาศาสตร์เหล่านี้จึงเป็นไปได้ยาก นักเรียนจึงถูกจำกัดการเรียนรู้แค่ในตำราเรียน ซึ่งนำปสู่ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของนักเรียนที่ลดลง หรือนักเรียนไม่สามารถเข้าใจในเนื้อหาและวัตถุประสงค์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้อย่างแท้จริง

        ZpecSen หรือ เครื่องสเปกโตรมิเตอร์แบบพกพาที่ใช้งานร่วมกับสมาร์ทโฟน ZpecSen ถูกออกแบบให้ติดตั้งกับสมาร์ทโฟนได้สะดวก ใช้งานง่ายผ่าน Mobile Application ที่ชื่อว่า ZpecSen App และตอบโจทย์การใช้งานได้หลากหลาย โดยมาพร้อมกับ 2 ช่องการตรวจวัด ที่ช่วยให้ตรวจวัดวัตถุโปร่งแสง 2 ชนิดได้พร้อมกัน หรือตรวจวัดแหล่งกำเนิดแสงชนิดต่าง ๆ โดยแสดงข้อมูลเชิงแสงผ่าน กราฟสเปกตรัมในรูปแบบความเข้มแสงที่ความยาวคลื่นต่าง ๆ ได้อย่างละเอียดและแม่นยำ

แนะนำการใช้งาน ZpecSen เบื้องต้น

“การแนะนำการใช้งาน ZpecSen เบื้องต้น” ได้แก่ การรวบรวมข้อมูลสำคัญ แนะนำต้นแบบ พร้อมทั้งสอนวิธีการติดตั้ง และวิธีใช้งานเบื้องต้น

ส่งเสริมการเรียนรู้ จินตนาการ และความเข้าใจ

        ZpecSen ได้ถูกออกแบบให้ให้สอดคล้องกับเนื้อหาในรายวิชาวิทยาศาสตร์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 และสามารถปรับเปลี่ยนการใช้งานได้ตามจินตนาการของนักเรียน หรือครู/อาจารย์ ซึ่งจะเสริมสร้างประสบการณ์ กระบวนการคิด วิเคราะห์ และแก้ปัญหา ให้แก่นักเรียนได้มากยิ่งขึ้น อีกทั้ง ครู/อาจารย์สามารถนำ ZpecSen ไปใช้ทำกิจกรรมการเรียนรู้นอกหลักสูตร หรือพัฒนารูปแบบการสอนแบบใหม่ เพื่อใช้เสริมความรู้และความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับแสงให้แก่นักเรียน หรือเพิ่มประสิทธิภาพการเรียน-การสอนให้ดียิ่งขึ้น โดยการลงมือปฏิบัติจริง

ประโยชน์

  • ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนในหลักสูตรแกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องแสง และสเปกตรัม ซึ่งสอดคล้องกับสาระการเรียนรู้แกนกลางของ
    • ประถมศึกษาปีที่ 2 ตัวชี้วัด 2.3.1-2
    • มัธยมศึกษาปีที่ 3 ตัวชี้วัด 2.1.3, 2.1.6, 2.3.11-12, 2.3.15 , 2.3.17 และ 2.3.19-21
    • มัธยมศึกษาปีที่ 5 ตัวชี้วัด 2.3.9-10
    • สาระวิทยาศาสตร์เพิ่มเติม
      • สาระเคมี มัธยมศึกษาปีที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ 1.3
      • สาระเคมี มัธยมศึกษาปีที่ 5 ผลการเรียนรู้ที่ 2.20
      • สาระฟิสิกส์ มัธยมศึกษาปีที่ 5 ผลการเรียนรู้ที่ 2.13
  • ใช้เป็นอุปกรณ์ตรวจวัดปริมาณสารเคมีหรือสารชีวภาพแบบพกพา
  • ใช้แทนเครื่องมือพื้นฐานในห้องปฏิบัติการซึ่งมีราคาแพงและไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้

คุณสมบัติ

  • A dual channel monitor
  • Two measurement modes
  • Switchable four light sources
  • Built-in Spectral calibration
  • Compatible with Android and IOS

จุดเด่น

  • ราคาถูก
  • ใช้งานง่าย
  • พกพาสะดวก

กลุ่มเป้าหมาย

  • ครู / อาจารย์
  • นักเรียน / นักศึกษา

         ในอนาคตผู้พัฒนาหวังอย่างยิ่งที่จะผลักดันการนำ ZpecSen ไปใช้งานในลักษณะสื่อการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษาจนถึงระดับอุดมศึกษา ทั่วประเทศ ผ่านเครือข่าย พันธมิตร มูลนิธิหรือองค์กรการกุศล

ลิงค์แนะนำผลงาน

ZpecSen เพื่อการศึกษา

แนะนำ ZpecSen

จุดเด่นของสเปกเซ้น

ติดตั้งและใช้งานง่าย

การสอบเทียบความยาวคลื่นได้ในตัวเอง

มีสองช่องการตรวจวัด

การวิเคราะห์ตัวอย่าง

การแหล่งกำเนิดแสง

เลือกแหล่งกำเนิดแสงภายในตัว

ติดต่อสอบถาม

ทีมวิจัยเทคโนโลยีโฟโทนิกส์ (PHT)
กลุ่มวิจัยอุปกรณ์สเปกโทรสโกปีและเซนเซอร์ (SSDRG)
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค-สวทช.)

ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ:

The post ZpecSen: สเปกโตรมิเตอร์สำหรับมือถือ (Mobile Spectrometer) appeared first on NAC2021.

]]>
UtuNoi อุตุน้อย Playground http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/16/na24-utunoi/ Tue, 16 Mar 2021 15:45:53 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=15093 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย กลุ่มวิจัยวิทยาการข้อมูลและการวิเคราะห์ (DSARG) ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ข้อมูล บนพื้นฐานของข้อมูลสภาพอากาศจากสถานีอุตุน้อยที่กระจายอยู่ตามโรงเรียนทั่วประเทศและมีปริมาณมหาศาล โดยอ้างอิงกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้อมูลที่กำหนดไว้ในหลักสูตรวิชาวิทยาการคำนวณ ของ สสวท. อีกทั้ง สนับสนุนการนำข้อมูลเหล่านี้มาใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพต่อไป จุดเด่นของผลงาน เชื่อมต่อเซนเซอร์ตรวจวัดข้อมูลสภาพอากาศ กับบอร์ด KidBright รองรับการใช้งานข้อมูลสภาพอากาศจากสถานีอุตุน้อยทั่วประเทศ และมีปริมาณมหาศาล ติดตามข้อมูลสภาพอากาศแบบเรียลไทม์ บนพื้นฐานของพิกัดปัจจุบัน สถานีอุตุน้อยที่สนใจและทั่วประเทศ สำรวจข้อมูลสภาพอากาศ ในรูปตาราง กราฟ และแผนที่ ตามสถานีอุตุน้อย ช่วงเวลา และเวลาในการสุ่มข้อมูลที่สนใจ สร้างโมเดลการพยากรณ์ข้อมูลสภาพอากาศ (อยู่ในระหว่างการพัฒนา) กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ผู้สนใจที่เริ่มเรียนรู้วิทยาศาสตร์ข้อมูล การติดตั้งสถานีอุตุน้อย 407 สถานี ใน 67 จังหวัด (ข้อมูล ณ วันที่ 15 ก.พ. 2564) ติดต่อสอบถาม ดร.นัยนา สหเวชชภัณฑ์ ทีมวิจัยการจำลองและระบบขับเคลื่อนด้วยข้อมูล (DSS) กลุ่มวิจัยวิทยาการข้อมูลและการวิเคราะห์ (DSARG) ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ […]

The post UtuNoi อุตุน้อย Playground appeared first on NAC2021.

]]>

UtuNoi อุตุน้อย Playground

UtuNoi อุตุน้อย Playground

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

กลุ่มวิจัยวิทยาการข้อมูลและการวิเคราะห์ (DSARG)
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)

        ส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ข้อมูล บนพื้นฐานของข้อมูลสภาพอากาศจากสถานีอุตุน้อยที่กระจายอยู่ตามโรงเรียนทั่วประเทศและมีปริมาณมหาศาล โดยอ้างอิงกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้อมูลที่กำหนดไว้ในหลักสูตรวิชาวิทยาการคำนวณ ของ สสวท. อีกทั้ง สนับสนุนการนำข้อมูลเหล่านี้มาใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพต่อไป

จุดเด่นของผลงาน

  • เชื่อมต่อเซนเซอร์ตรวจวัดข้อมูลสภาพอากาศ กับบอร์ด KidBright
  • รองรับการใช้งานข้อมูลสภาพอากาศจากสถานีอุตุน้อยทั่วประเทศ และมีปริมาณมหาศาล
  • ติดตามข้อมูลสภาพอากาศแบบเรียลไทม์ บนพื้นฐานของพิกัดปัจจุบัน สถานีอุตุน้อยที่สนใจและทั่วประเทศ
  • สำรวจข้อมูลสภาพอากาศ ในรูปตาราง กราฟ และแผนที่ ตามสถานีอุตุน้อย ช่วงเวลา และเวลาในการสุ่มข้อมูลที่สนใจ
  • สร้างโมเดลการพยากรณ์ข้อมูลสภาพอากาศ (อยู่ในระหว่างการพัฒนา)

กลุ่มเป้าหมาย

  • นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
  • ผู้สนใจที่เริ่มเรียนรู้วิทยาศาสตร์ข้อมูล
na24-utunoik-04
na24-utunoik-05

การติดตั้งสถานีอุตุน้อย

        407 สถานี ใน 67 จังหวัด (ข้อมูล ณ วันที่ 15 ก.พ. 2564)

na24-utunoik-03

ติดต่อสอบถาม

ดร.นัยนา สหเวชชภัณฑ์
ทีมวิจัยการจำลองและระบบขับเคลื่อนด้วยข้อมูล (DSS)
กลุ่มวิจัยวิทยาการข้อมูลและการวิเคราะห์ (DSARG)
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)

ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ:

The post UtuNoi อุตุน้อย Playground appeared first on NAC2021.

]]>
ระบบตรวจสอบคุณภาพในบรรจุภัณฑ์ด้วยสัญญาณเทระเฮิรตซ์ http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/16/na26-packaging-checking-quality/ Tue, 16 Mar 2021 14:43:46 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=14990 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ปัจจุบันมีหลากหลายเทคโนโลยีที่สามารถตรวจสอบวัตถุที่อยู่ภายในบรรจุภัณฑ์ได้โดยไม่ต้องเปิดหีบห่อ หนึ่งในนั้นคือการใช้เทคโนโลยีเทระเฮิรตซ์ ที่มีความสามารถในการตรวจสอบความชื้นและสิ่งแปลกปลอมภายในผลิตภัณฑ์แบบไม่ทำลาย และในขณะเดียวกันก็มีความปลอดภัยจากกัมมันตรังสี ไม่เป็นอันตรายต่อเซลล์สิ่งมีชีวิต ทีมวิจัยเทคโนโลยีเทระเฮิรตซ์ ได้เล็งเห็นศักยภาพของเทคโนโลยีดังกล่าว จึงพัฒนาระบบจำลองสายพานการผลิต ที่มีการนำเทคโนโลยีการสร้างข้อมูลภาพดิจิทัลด้วยคลื่นเทระเฮิรตซ์ มาประยุกต์ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพในบรรจุภัณฑ์ จุดเด่นของงานวิจัย/เทคโนโลยี ระบบที่พัฒนาขึ้น ใช้เทคโนโลยีเทระเฮิรตซ์ ซึ่งมีความปลอดภัยจากกัมมันตรังสี และมีคุณสมบัติในการทะลุทะลวงบรรจุภัณฑ์ที่ทำจากกระดาษ ผ้า หรือพลาสติก ตอบสนองต่อการดูดกลืนความชื้น และสะท้อนบนพื้นผิวโลหะ ซึ่งทำให้สามารถตรวจสอบความชื้นและสิ่งแปลกปลอมภายในผลิตภัณฑ์แบบไม่ทำลายได้ นอกจากนี้ ระบบยังสามารถแสดงผลภาพได้หลายแบบ เช่น ภาพสีของภายนอกบรรจุภัณฑ์ ภาพเทระเฮิรตซ์ที่แสดงความชื้นหรือวัตถุแปลกปลอมภายในบรรจุภัณฑ์ หรือภาพซ้อนของภาพทั้งสองชนิด ซึ่งระบบสามารถแสดงผลได้แบบเวลาจริง และสามารถตรวจสอบบรรจุภัณฑ์ที่เคลื่อนที่เร็วได้มากถึง 30 เซ็นติเมตรต่อวินาที การใช้งาน ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ เช่น ปริมาณความชื้นในผลผลิตทางการเกษตรและอาหาร หรือสิ่งปลอมปนที่อยู่ภายในบรรจุภัณฑ์ โดยเป็นการตวจสอบบนสายพานการผลิต และไม่ทำลายวัตถุหรือไม่มีการฉายสารกัมมันตรังสีบนวัตถุ ใช้ตรวจสอบวัตถุต้องสงสัยภายใน เช่น อาวุธ หรือสิ่งเทียมอาวุธ ที่ถูกซุกซ่อนอยู่ในกล่องพัสดุ สามารถรับชมการสาธิตวิธีการใช้งานจริงได้ที่ เทคโนโลยีสร้างภาพสัญญาณ Terahertz มาประยุกต์ใช้กับระบบสายพานลำเลียง อินโทรแนะนำวีดีโอ xxxxxx (ถ้าไม่มีลบออกได้) ติดต่อสอบถาม […]

The post ระบบตรวจสอบคุณภาพในบรรจุภัณฑ์ด้วยสัญญาณเทระเฮิรตซ์ appeared first on NAC2021.

]]>

ระบบตรวจสอบคุณภาพในบรรจุภัณฑ์ด้วยสัญญาณเทระเฮิรตซ์

ระบบตรวจสอบคุณภาพในบรรจุภัณฑ์ด้วยสัญญาณเทระเฮิรตซ์

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)

        ปัจจุบันมีหลากหลายเทคโนโลยีที่สามารถตรวจสอบวัตถุที่อยู่ภายในบรรจุภัณฑ์ได้โดยไม่ต้องเปิดหีบห่อ หนึ่งในนั้นคือการใช้เทคโนโลยีเทระเฮิรตซ์ ที่มีความสามารถในการตรวจสอบความชื้นและสิ่งแปลกปลอมภายในผลิตภัณฑ์แบบไม่ทำลาย และในขณะเดียวกันก็มีความปลอดภัยจากกัมมันตรังสี ไม่เป็นอันตรายต่อเซลล์สิ่งมีชีวิต ทีมวิจัยเทคโนโลยีเทระเฮิรตซ์ ได้เล็งเห็นศักยภาพของเทคโนโลยีดังกล่าว จึงพัฒนาระบบจำลองสายพานการผลิต ที่มีการนำเทคโนโลยีการสร้างข้อมูลภาพดิจิทัลด้วยคลื่นเทระเฮิรตซ์ มาประยุกต์ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพในบรรจุภัณฑ์

จุดเด่นของงานวิจัย/เทคโนโลยี

        ระบบที่พัฒนาขึ้น ใช้เทคโนโลยีเทระเฮิรตซ์ ซึ่งมีความปลอดภัยจากกัมมันตรังสี และมีคุณสมบัติในการทะลุทะลวงบรรจุภัณฑ์ที่ทำจากกระดาษ ผ้า หรือพลาสติก ตอบสนองต่อการดูดกลืนความชื้น และสะท้อนบนพื้นผิวโลหะ ซึ่งทำให้สามารถตรวจสอบความชื้นและสิ่งแปลกปลอมภายในผลิตภัณฑ์แบบไม่ทำลายได้

        นอกจากนี้ ระบบยังสามารถแสดงผลภาพได้หลายแบบ เช่น ภาพสีของภายนอกบรรจุภัณฑ์ ภาพเทระเฮิรตซ์ที่แสดงความชื้นหรือวัตถุแปลกปลอมภายในบรรจุภัณฑ์ หรือภาพซ้อนของภาพทั้งสองชนิด ซึ่งระบบสามารถแสดงผลได้แบบเวลาจริง และสามารถตรวจสอบบรรจุภัณฑ์ที่เคลื่อนที่เร็วได้มากถึง 30 เซ็นติเมตรต่อวินาที

การใช้งาน

  • ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ เช่น ปริมาณความชื้นในผลผลิตทางการเกษตรและอาหาร หรือสิ่งปลอมปนที่อยู่ภายในบรรจุภัณฑ์ โดยเป็นการตวจสอบบนสายพานการผลิต และไม่ทำลายวัตถุหรือไม่มีการฉายสารกัมมันตรังสีบนวัตถุ
  • ใช้ตรวจสอบวัตถุต้องสงสัยภายใน เช่น อาวุธ หรือสิ่งเทียมอาวุธ ที่ถูกซุกซ่อนอยู่ในกล่องพัสดุ
  • สามารถรับชมการสาธิตวิธีการใช้งานจริงได้ที่

เทคโนโลยีสร้างภาพสัญญาณ Terahertz มาประยุกต์ใช้กับระบบสายพานลำเลียง

อินโทรแนะนำวีดีโอ xxxxxx (ถ้าไม่มีลบออกได้)

ติดต่อสอบถาม

ณภัทร โคตะ และ รุ่งโรจน์ จินตเมธาสวัสดิ์
ทีมวิจัยเทคโนโลยีเทระเฮิรตซ์ (TRT)
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)

ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ:

The post ระบบตรวจสอบคุณภาพในบรรจุภัณฑ์ด้วยสัญญาณเทระเฮิรตซ์ appeared first on NAC2021.

]]>
บริการทดสอบระบบซอฟต์แวร์ http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/16/na25-softwate-testing/ Tue, 16 Mar 2021 13:43:44 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=14905 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ระบบซอฟต์แวร์ บริการทดสอบระบบซอฟต์แวร์ รองรับการทดสอบระบบซอฟต์แวร์ที่เป็น Application ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น  Mobile Application,  Web-Application,   Embedded System  หรือรูปแบบอื่น ซึ่งสามารถทดสอบได้ทั้งผลิตภัณฑ์ที่อยู่ระหว่างการผลิตหรือผลิตเสร็จเรียบร้อยแล้ว  โดยสามารถทดสอบตามคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ได้ดังนี้ *** ราคาและระยะเวลาที่ใช้ในการทดสอบ ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ  ของ Application/ระบบ เช่น จำนวนฟังก์ชัน ระดับความซับซ้อน จำนวนส่วนประกอบ เครื่องมือที่จำเป็นต้องใช้ในการทดสอบ หรือสภาพแวดล้อมการทดสอบ เป็นต้น Internet of Things (IoT) Internet of Things หรือ IoT คือ สภาพแวดล้อมอันประกอบด้วยสรรพสิ่งที่สามารถสื่อสารและเชื่อมต่อกันได้ผ่านโพรโทคอลการสื่อสารทั้งแบบใช้สายและไร้สาย โดยสรรพสิ่งต่างๆ มีวิธีการระบุตัวตนได้ รับรู้บริบทของสภาพแวดล้อมได้ และมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบและทำงานร่วมกันได้ ความสามารถในการสื่อสารของสรรพสิ่งนี้จะนำไปสู่นวัตกรรมและบริการใหม่อีกมากมาย (ที่มา) การทำงานเชิงหน้าที่ (Functional Suitability) เป็นการทดสอบฟังก์ชันการทำงานของอุปกรณ์ IoT  รวมไปถึงโมบายแอปพลิเคชัน […]

The post บริการทดสอบระบบซอฟต์แวร์ appeared first on NAC2021.

]]>

บริการทดสอบระบบซอฟต์แวร์

บริการทดสอบระบบซอฟต์แวร์

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) 

ระบบซอฟต์แวร์

        บริการทดสอบระบบซอฟต์แวร์ รองรับการทดสอบระบบซอฟต์แวร์ที่เป็น Application ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น  Mobile Application,  Web-Application,   Embedded System  หรือรูปแบบอื่น ซึ่งสามารถทดสอบได้ทั้งผลิตภัณฑ์ที่อยู่ระหว่างการผลิตหรือผลิตเสร็จเรียบร้อยแล้ว  โดยสามารถทดสอบตามคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ได้ดังนี้

        *** ราคาและระยะเวลาที่ใช้ในการทดสอบ ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ  ของ Application/ระบบ เช่น จำนวนฟังก์ชัน ระดับความซับซ้อน จำนวนส่วนประกอบ เครื่องมือที่จำเป็นต้องใช้ในการทดสอบ หรือสภาพแวดล้อมการทดสอบ เป็นต้น

Internet of Things (IoT)
        Internet of Things หรือ IoT คือ สภาพแวดล้อมอันประกอบด้วยสรรพสิ่งที่สามารถสื่อสารและเชื่อมต่อกันได้ผ่านโพรโทคอลการสื่อสารทั้งแบบใช้สายและไร้สาย โดยสรรพสิ่งต่างๆ มีวิธีการระบุตัวตนได้ รับรู้บริบทของสภาพแวดล้อมได้ และมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบและทำงานร่วมกันได้ ความสามารถในการสื่อสารของสรรพสิ่งนี้จะนำไปสู่นวัตกรรมและบริการใหม่อีกมากมาย (ที่มา)

การทำงานเชิงหน้าที่ (Functional Suitability)
        เป็นการทดสอบฟังก์ชันการทำงานของอุปกรณ์ IoT  รวมไปถึงโมบายแอปพลิเคชัน เว็บแอปพลิเคชัน และ API ที่เกี่ยวข้องว่าสามารถทำงานได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ ตรงตามที่ระบุไว้ในเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์ รูปแบบการทดสอบเช่นเดียวกับการทดสอบ ระบบซอฟต์แวร์

ประสิทธิภาพ (Performance)
        เป็นการทดสอบประสิทธิภาพการทำงานของอุปกรณ์ IoT  รวมไปถึงเว็บแอปพลิเคชัน และ API ที่เกี่ยวข้องว่าระบบมีการตอบสนองและสามารถรองรับจำนวนผู้ใช้งานได้ตามที่ระบุไว้ในเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์

ความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ (CyberSecurity)
      เป็นการทดสอบความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ของอุปกรณ์ IoT  รวมไปถึงโมบายแอปพลิเคชัน เว็บแอปพลิเคชัน และ API ที่เกี่ยวข้องว่าระบบมีความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ตามคำแนะนำของ OWASP

ระบบเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์

รายละเอียดการทดสอบ
       ให้บริการทดสอบ ระบบเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ตามมาตรฐาน ดังนี้

  • การทดสอบระบบจัดเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ มาตรฐาน มศอ 4003.1 -2560
  • การทดสอบประสิทธิภาพการทำงาน บริภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ มาตรฐาน ศอ. 2006.3 – 2558

เครื่องมือแพทย์และซอฟต์แวร์เครื่องมือแพทย์

รายละเอียดการทดสอบ
        ให้บริการทดสอบเครื่องมือแพทย์ และซอฟต์แวร์เครื่องมือแพทย์ตามมาตรฐาน ดังนี้

ติดต่อสอบถาม

The post บริการทดสอบระบบซอฟต์แวร์ appeared first on NAC2021.

]]>
AI for Thai : แพล็ตฟอร์ม AI สัญชาติไทย http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/16/na22-ai-for-thai/ Tue, 16 Mar 2021 10:20:37 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=14871 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย กลุ่มวิจัยปัญญาประดิษฐ์ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) AI for Thai : Thai AI Service Platform เป็นแพลตฟอร์มให้บริการ AI สัญชาติไทย มุ่งวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์และ Machine Learning เพื่อเน้นตอบโจทย์ผู้ใช้งาน ทั้งในภาคอุตสาหกรรมและการบริการต่างๆ ในประเทศไทย เช่น ภาคธุรกิจกลุ่มค้าปลีก (Retail) ใช้ Chatbot โต้ตอบเพื่อตอบคำถาม ให้บริการแก่ลูกค้าแทนพนักงาน กลุ่มโลจิสติกส์ ใช้ระบบรู้จำใบหน้า (Face Recognition) เพื่อตรวจจับใบหน้าของพนักงานขับรถว่ามีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุหรือไม่ ด้านการแพทย์ก็เริ่มใช้ AI มาวิเคราะห์แนวโน้มความเสี่ยงของโรคส่วนบุคคล หรือการอ่านฟิล์ม X-rays แทนมนุษย์ เป็นต้น ด้านการท่องเที่ยว สามารถใช้ AI แปลภาษาและสามารถวิเคราะห์รูปอาหารและสถานที่ท่องเที่ยวจากภาพถ่าย AI for Thai เกิดจากการรวบรวมผลงานวิจัยและพัฒนาทางด้าน AI ภายใต้หน่วยวิจัยปัญญาประดิษฐ์ (AINRU) ของศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ อันประกอบไปด้วยงานทางด้านการประมวลผลภาษาธรรมชาติของภาษาไทย, […]

The post AI for Thai : แพล็ตฟอร์ม AI สัญชาติไทย appeared first on NAC2021.

]]>

AI for Thai : แพล็ตฟอร์ม AI สัญชาติไทย

AI for Thai : แพล็ตฟอร์ม AI สัญชาติไทย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

กลุ่มวิจัยปัญญาประดิษฐ์
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)

        AI for Thai : Thai AI Service Platform เป็นแพลตฟอร์มให้บริการ AI สัญชาติไทย มุ่งวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์และ Machine Learning เพื่อเน้นตอบโจทย์ผู้ใช้งาน ทั้งในภาคอุตสาหกรรมและการบริการต่างๆ ในประเทศไทย เช่น

  • ภาคธุรกิจกลุ่มค้าปลีก (Retail) ใช้ Chatbot โต้ตอบเพื่อตอบคำถาม ให้บริการแก่ลูกค้าแทนพนักงาน
  • กลุ่มโลจิสติกส์ ใช้ระบบรู้จำใบหน้า (Face Recognition) เพื่อตรวจจับใบหน้าของพนักงานขับรถว่ามีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุหรือไม่
  • ด้านการแพทย์ก็เริ่มใช้ AI มาวิเคราะห์แนวโน้มความเสี่ยงของโรคส่วนบุคคล หรือการอ่านฟิล์ม X-rays แทนมนุษย์ เป็นต้น
  • ด้านการท่องเที่ยว สามารถใช้ AI แปลภาษาและสามารถวิเคราะห์รูปอาหารและสถานที่ท่องเที่ยวจากภาพถ่าย

        AI for Thai เกิดจากการรวบรวมผลงานวิจัยและพัฒนาทางด้าน AI ภายใต้หน่วยวิจัยปัญญาประดิษฐ์ (AINRU) ของศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ อันประกอบไปด้วยงานทางด้านการประมวลผลภาษาธรรมชาติของภาษาไทย, งานด้านการเข้าใจภาพในบริบทของความเป็นไทยและงานด้านการรู้จำและสร้างเสียงพูดภาษาไทย

กลุ่มเป้าหมาย/ผู้ใช้งาน

  • นักพัฒนาระบบ
  • ผู้ประกอบการบริษัท SME
  • Start up และบริษัทอื่นๆ

จุดเด่น

  • มีบริการให้พร้อมเรียกใช้งาน
  • ช่วยให้สามารถต่อยอดสร้างสรรค์แอพพลิเคชันได้อย่างรวดเร็ว
  • ทดสอบใช้งานได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย* (แบบ Limited Free Service)

APIs & Service

        โมดูลต่าง ๆ ที่รวบรวมเข้ามาให้บริการบนแพลตฟอร์ม ถูกจำแนกออกเป็น 3กลุ่ม ได้แก่ Language, Vision และ Conversation ซึ่งโมดูลต่าง ๆ จะพร้อมให้ใช้งานในรูปแบบ Web Service หรือ API

  • Language บริการด้านประมวลผลข้อความภาษาไทยรอบด้าน เช่น Word Segmentation, POS Tagging, Named Entity Recognition ประกอบด้วย
    • Basic NLP (ประมวลผลภาษา)
    • TAG Suggestion (แนะนำป้ายกำกับ)
    • Machine translation (แปลภาษา)
    • Sentiment Analysis (วิเคราะห์ความเห็น)
  • Vision บริการด้านวิเคราะห์และเข้าใจภาพและวิดีโอหลากหลาย เช่น OCR, Face Recognition, Person Heatmap ประกอบด้วย
    • Character Recognition (แปลงอักษรภาพเป็นข้อความ)
    • Object Recognition (รู้จำวัตถุ)
    • Face Analytics (วิเคราะห์ใบหน้า)
    • Person & Activity Analytics (วิเคราะห์บุคคล)
  • Conversation บริการด้านสนทนาแบบครบวงจร ได้แก่
    • Speech to Text (แปลงเสียงพูดเป็นข้อความ)
    • Text to Speech (แปลงข้อความเป็นเสียงพูด)
    • Chatbot (ระบบโต้ตอบทางข้อความอัตโนมัติ)

ใช้บริการ AI for Thai ได้ที่ https://aiforthai.in.th

เนคเทค ประกาศเปิดตัว AI FOR THAI

ดร.ชัย วุฒิวิวัฒน์ชัย ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ประกาศเปิดตัว AI FOR THAI

Ai for Thai

ติดต่อสอบถาม

ฝ่ายกลยุทธ์วิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยี (SPD)
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)

ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ:

The post AI for Thai : แพล็ตฟอร์ม AI สัญชาติไทย appeared first on NAC2021.

]]>
KidBright AI Simulator: KidBright Virtual and Virtual Kanomchan http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/16/na21-kidbright-kanomchan/ Tue, 16 Mar 2021 09:32:57 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=14823 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) KidBright Virtual สำหรับบอร์ด KidBright เป็นบอร์ดสมองกลฝังตัวที่สามารถทำงานตามชุดคำสั่ง โดยผู้เรียนสามารถสร้างชุดคำสั่งผ่านโปรแกรม KidBright IDE บนคอมพิวเตอร์ โดย KidBright มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้พัฒนากระบวนการคิดเชิงตรรกะ ร่วมกับความคิดสร้างสรรค์ สามารถต่อยอดสู่การพัฒนาแอปพลิเคชันและเทคโนโลยีด้วยตนเองในอนาคต เนื่องจากการเข้าถึงการใช้งานตัวบอร์ดจริง อาจจะมีข้อจำกัด เช่น ผู้ใช้ยังไม่พร้อมที่จัดหาอุปกรณ์จริงมาใช้ หรือการจัดหาอุปกรณ์จริงอาจจะมีความยุ่งยากในบางประการ ดังนั้น เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึงประโยชน์ของบอร์ด KidBright ได้มากที่สุด จึงได้มีการวิจัยและพัฒนาบอร์ด KidBright แบบเสมือนจริง (KidBright Virtual: KV) ที่สามารถใช้งานผ่านอินเตอร์เน็ต และสามารถติดตั้งลงบนเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ ดังนั้น ผู้ที่สนใจก็สามารถใช้งานบอร์ด KidBright ได้ โดยยังไม่จำเป็นต้องจัดหาอุปกรณ์จริง หุ่นยนต์ขนมชั้น Virtual Kanomchan (VK) Virtual Kanomchan หุ่นยนต์ “ขนมชั้น” คือหุ่นยนต์สอนปัญญาประดิษฐ์ KidBright AI ที่ต่อยอดมาจากบอร์ด KidBright โดยมีการติดตั้งกล้อง […]

The post KidBright AI Simulator: KidBright Virtual and Virtual Kanomchan appeared first on NAC2021.

]]>

KidBright AI Simulator: KidBright Virtual and Virtual Kanomchan

KidBright AI Simulator: KidBright Virtual and Virtual Kanomchan

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)

KidBright Virtual

       สำหรับบอร์ด KidBright เป็นบอร์ดสมองกลฝังตัวที่สามารถทำงานตามชุดคำสั่ง โดยผู้เรียนสามารถสร้างชุดคำสั่งผ่านโปรแกรม KidBright IDE บนคอมพิวเตอร์ โดย KidBright มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้พัฒนากระบวนการคิดเชิงตรรกะ ร่วมกับความคิดสร้างสรรค์ สามารถต่อยอดสู่การพัฒนาแอปพลิเคชันและเทคโนโลยีด้วยตนเองในอนาคต เนื่องจากการเข้าถึงการใช้งานตัวบอร์ดจริง อาจจะมีข้อจำกัด เช่น ผู้ใช้ยังไม่พร้อมที่จัดหาอุปกรณ์จริงมาใช้ หรือการจัดหาอุปกรณ์จริงอาจจะมีความยุ่งยากในบางประการ ดังนั้น เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึงประโยชน์ของบอร์ด KidBright ได้มากที่สุด จึงได้มีการวิจัยและพัฒนาบอร์ด KidBright แบบเสมือนจริง (KidBright Virtual: KV) ที่สามารถใช้งานผ่านอินเตอร์เน็ต และสามารถติดตั้งลงบนเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ ดังนั้น ผู้ที่สนใจก็สามารถใช้งานบอร์ด KidBright ได้ โดยยังไม่จำเป็นต้องจัดหาอุปกรณ์จริง

หุ่นยนต์ขนมชั้น

Virtual Kanomchan (VK)

Virtual Kanomchan

        หุ่นยนต์ขนมชั้น คือหุ่นยนต์สอนปัญญาประดิษฐ์ KidBright AI ที่ต่อยอดมาจากบอร์ด KidBright โดยมีการติดตั้งกล้อง ล้อ ลำโพง ไมโครโฟน รวมถึงเซ็นเซอร์ต่างๆได้ และซ้อนบอร์ดวงจรขึ้นเป็นชั้น และเพื่อให้การเรียนรู้ด้าน AI ด้วย KidBright AI ได้อย่างทั่วถึงมากขึ้น แม้จะไม่มีหุ่นยนต์ขนมชั้นตัวจริง จึงได้มีการวิจัยและพัฒนาหุ่นยนต์ขนมชั้นเสมือนจริง (Virtual Kanomchan: VK) ซึ่งเป็นโปรแกรมออนไลน์ที่ใช้ฝึกเขียนโปรแกรมด้าน AI เช่น การโปรแกรมให้ระบบหุ่นยนต์จดจำภาพวัตถุที่ต้องการ เพื่อนำการจดจำวัตถุดังกล่าว ไปใช้งานต่างๆ เช่น การเดินตามวัตถุที่จดจำได้ เป็นต้น โดยการใช้งานโปรแกรมนี้ ผู้ใช้สามารถเข้าใจถึงกระบวนการของการนำเทคโนโยลีด้าน AI มาประกอบเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งให้หุ่นยนต์ทำงานตามที่ต้องการ ตั้งแต่การเก็บข้อมูล จัดแต่งข้อมูล การ Train ข้อมูลเพื่อสร้าง Model และการนำ Model ไปใช้งาน

Virtual Kanomchan

จุดเด่นของงานวิจัย/เทคโนโลยี

        KidBright Virtual: สามารถใช้ฝึกเขียนโปรแกรมการใช้งานบอร์ด KidBright ได้เหมือนการใช้งานบอร์ดจริง สามารถทดลองโปรแกรมผ่านอุปกรณ์เสมือนจริงที่มีอยู่โปรแกรม สามารถเข้าถึงการใช้งานได้ทุกที่ทุกเวลาที่มีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต รวมทั้งลดระยะเวลาและค่าใช้จ่ายในการทดลองใช้งานบอร์ดจริง และค่าใช้จ่ายของการสูญเสีย เนื่องจากการขาดความรู้พื้นฐานด้านไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

        Virtual Kanomchan: สามารถใช้ฝึกเขียนโปรแกรมการใช้งานหุ่นยนต์ขนมชั้น KidBright AI ได้เหมือนการใช้งานหุ่นยนต์จริง สามารถทดลองโปรแกรมการ Train Model ในรูปแบบต่างๆที่มีอยู่โปรแกรม สามารถเข้าถึงการใช้งานได้ทุกที่ทุกเวลาที่มีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต รวมทั้งลดระยะเวลาและค่าใช้จ่ายในการจัดหาอุปกรณ์เพื่อเรียนรู้เทคโนโลยีด้าน AI และค่าใช้จ่ายของการสูญเสีย เนื่องจากการขาดความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรมควบคุมระบบหุ่นยนต์

การศึกษา

การทดสอบ/วิจัย

ลดความผิดพลาด
เสียหายต่ออุปกรณ์

ประหยัดต้นทุน

KidBright Virtual Demo

ติดต่อสอบถาม

วินัย ชนปรมัตถ์
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)

ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ:

The post KidBright AI Simulator: KidBright Virtual and Virtual Kanomchan appeared first on NAC2021.

]]>
อนุภาคนาโนเพื่อการนำส่งบัวบก มังคุด กานพลูสำหรับผลิตภัณฑ์เวชสำอาง http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/16/na03-acne-care/ Tue, 16 Mar 2021 09:24:02 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=14787 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC) ที่มาและความสำคัญ แนวโน้มการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสมุนไพรในปัจจุบันนั้นได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย โดยพบว่าสารสมุนไพรทั้งในรูปของสารออกฤทธิ์ที่เป็นสารสกัดหยาบ ผงแห้ง และน้ำมันหอมระเหยเข้มข้นมีการนำมาใช้เป็นยา อาหารเสริม หรือส่วนผสมในอาหารเพื่อจุดประสงค์ในการบำบัดและรักษาโรคต่าง ๆ อย่างไรก็ดี สารสกัดจากสมุนไพรมีข้อจำกัดทั้งด้านกายภาพและทางเคมีที่อาจส่งผลต่อการนำมาใช้ในการพัฒนาเป็นสูตรตำรับยา รวมถึงการนำมาใช้ในการบำบัดรักษาด้วย ดังนั้นการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของสมุนไพรที่ใช้ภายนอกร่างกายจึงทีความจำเป็นต่อการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพของสารออกฤทธิ์ สารสกัดบัวบก สารสกัดเปลือกมังคุด และน้ำมันกานพลู เป็นสารสกัดที่ได้จากธรรมชาติที่มีคุณสมบัติที่โดดเด่นทั้งทางชีวภาพและทางเภสัชศาสตร์ โดยคุณสมบัติดังกล่าว คือ การลดรอยดำ ฤทธิ์ต้านการอักเสบ รวมถึงความสามารถในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียที่ผิวหนัง ในกลุ่มของ Staphylococcus aureus และ Propionibacterium acnes ซึ่งเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดสิว ดังนั้นการนำสรรพคุณของสารออกฤทธิ์ทั้ง 3 ชนิดมารวมกันจะทำให้เป็นการเพิ่มศักยภาพและมูลค่าของผลิตภัณฑ์ได้ คุณสมบัติเด่นของเทคโนโลยี อนุภาคนาโนเพื่อการนำส่งบัวบก มังคุด กานพลู เป็นอนุภาคนาโนที่พัฒนาเพื่อให้ได้อนุภาคที่สามารถกักเก็บสารสำคัญได้หลากหลายรูปแบบ และมีความคงตัวของอนุภาคที่ดี โดยสารสกัดจากธรรมชาติที่นำมากักเก็บในอนุภาคนี้มีคุณสมบัติเด่นในด้านการลดการเกิดสิว ฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียก่อโรคที่ผิวหนัง ช่วยลดโอกาสการเกิดรอยดำ และการอักเสบที่เกิดขึ้นจากสิวอักเสบ อีกทั้งอนุภาคนาโนเพื่อการนำส่งบัวบก มังคุด กานพลู นี้สามารถนำไปขึ้นรูปเป็นสูตรตำรับผลิตภัณฑ์ได้หลายรูปแบบ เหมาะสำหรับการประยุกต์ใช้ในการเตรียมสูตรเภสัชภัณฑ์ใช้ภายนอกร่างกาย เพื่อเพิ่มความสามารถในการซึมผ่านชั้นผิวหนังของอนุภาคได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความร่วมมือที่เสาะหา เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ สถานภาพของผลงานวิจัย […]

The post อนุภาคนาโนเพื่อการนำส่งบัวบก มังคุด กานพลูสำหรับผลิตภัณฑ์เวชสำอาง appeared first on NAC2021.

]]>

อนุภาคนาโนเพื่อการนำส่งบัวบก มังคุด กานพลูสำหรับผลิตภัณฑ์เวชสำอาง

อนุภาคนาโนเพื่อการนำส่งบัวบก มังคุด กานพลูสำหรับผลิตภัณฑ์เวชสำอาง

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC)

ที่มาและความสำคัญ

        แนวโน้มการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสมุนไพรในปัจจุบันนั้นได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย โดยพบว่าสารสมุนไพรทั้งในรูปของสารออกฤทธิ์ที่เป็นสารสกัดหยาบ ผงแห้ง และน้ำมันหอมระเหยเข้มข้นมีการนำมาใช้เป็นยา อาหารเสริม หรือส่วนผสมในอาหารเพื่อจุดประสงค์ในการบำบัดและรักษาโรคต่าง ๆ อย่างไรก็ดี สารสกัดจากสมุนไพรมีข้อจำกัดทั้งด้านกายภาพและทางเคมีที่อาจส่งผลต่อการนำมาใช้ในการพัฒนาเป็นสูตรตำรับยา รวมถึงการนำมาใช้ในการบำบัดรักษาด้วย ดังนั้นการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของสมุนไพรที่ใช้ภายนอกร่างกายจึงทีความจำเป็นต่อการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพของสารออกฤทธิ์

         สารสกัดบัวบก สารสกัดเปลือกมังคุด และน้ำมันกานพลู เป็นสารสกัดที่ได้จากธรรมชาติที่มีคุณสมบัติที่โดดเด่นทั้งทางชีวภาพและทางเภสัชศาสตร์ โดยคุณสมบัติดังกล่าว คือ การลดรอยดำ ฤทธิ์ต้านการอักเสบ รวมถึงความสามารถในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียที่ผิวหนัง ในกลุ่มของ Staphylococcus aureus และ Propionibacterium acnes ซึ่งเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดสิว ดังนั้นการนำสรรพคุณของสารออกฤทธิ์ทั้ง 3 ชนิดมารวมกันจะทำให้เป็นการเพิ่มศักยภาพและมูลค่าของผลิตภัณฑ์ได้

คุณสมบัติเด่นของเทคโนโลยี

        อนุภาคนาโนเพื่อการนำส่งบัวบก มังคุด กานพลู เป็นอนุภาคนาโนที่พัฒนาเพื่อให้ได้อนุภาคที่สามารถกักเก็บสารสำคัญได้หลากหลายรูปแบบ และมีความคงตัวของอนุภาคที่ดี โดยสารสกัดจากธรรมชาติที่นำมากักเก็บในอนุภาคนี้มีคุณสมบัติเด่นในด้านการลดการเกิดสิว ฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียก่อโรคที่ผิวหนัง ช่วยลดโอกาสการเกิดรอยดำ และการอักเสบที่เกิดขึ้นจากสิวอักเสบ อีกทั้งอนุภาคนาโนเพื่อการนำส่งบัวบก มังคุด กานพลู นี้สามารถนำไปขึ้นรูปเป็นสูตรตำรับผลิตภัณฑ์ได้หลายรูปแบบ เหมาะสำหรับการประยุกต์ใช้ในการเตรียมสูตรเภสัชภัณฑ์ใช้ภายนอกร่างกาย เพื่อเพิ่มความสามารถในการซึมผ่านชั้นผิวหนังของอนุภาคได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ความร่วมมือที่เสาะหา

        เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ

สถานภาพของผลงานวิจัย

        – ผลการทดลองระดับห้องปฏิบัติการได้รับการพิสูจน์ว่าเป็นไปได้
        – ได้ต้นแบบในระดับห้องปฏิบัติการ
        – ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง
        – ได้ต้นแบบระดับ pilot scale

สถานภาพสิทธิบัตร

        อนุสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 1803001113 เรื่อง องค์ประกอบอนุภาคนาโน-ลิโปดอล แคริเออร์ และกรรมวิธีการเตรียมอนุภาคดังกล่าว วันที่ยื่นคำขอ 11 พ.ค. 2561

นักวิจัย

        ดร.สุวิมล สุรัสโม
        ดร.ชญานันท์ เอี่ยมสำอาง
        นายคุณัช สุขธรรม
        นางสาวนารินทร์ ไพบูลย์
        นายจักรวาฬ ยศถาวรกุล
        นางสาวอรอุมา เกตุชาติ

ติดต่อสอบถาม

สโรชา เพ็งศรี
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post อนุภาคนาโนเพื่อการนำส่งบัวบก มังคุด กานพลูสำหรับผลิตภัณฑ์เวชสำอาง appeared first on NAC2021.

]]>
แพลตฟอร์มดิจิทัลทางทันตกรรม (Digital Dentistry Platform) http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/16/na09-digital-dentistry-platform/ Tue, 16 Mar 2021 09:05:22 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=14764 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกและเครื่องมือแพทย์ (A-MED)        แพลตฟอร์มดิจิทัลทางทันตกรรม (Digital Dentistry Platform) เป็นการบูรณาการนวัตกรรมทางด้านท้นตกรรมที่พัฒนา ในประเทศแบบครบวงจร เริ่มตั้งแต่การนำเทคโนโลยีเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ทางทันตกรรม (DentiiScan) การวางแผนการฝังรากฟันเทียมด้วยซอฟต์แวร์ (DentiPlan) เพื่อใช้ในการผลิตอุปกรณ์นำเจาะเพื่อฝังรากฟันเทียม (Surgical Drill Guide) ร่วมกับการใช้ระบบรากฟันเทียมไทย (Dental Implant) ตลอดจนการออกแบบและผลิตครอบฟันสะพานฟันด้วยเทคโนโลยีการออกแบบและควบคุมการผลิตด้วยคอมพิวเตอร์ (Dental CAD/CAM/CNC/3D Printer) ทำให้ผู้ป่วยคนไทยสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิทัลทางทันตกรรมเพื่อสุขภาพช่องปากและฟันได้ง่ายขึ้น และสามารถรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของประเทศไทยได้อย่างต่อเนื่อง ภาพแพลตฟอร์มดิจิทัลทางทันตกรรม แสดงกระบวนการรักษาโดยการเก็บข้อมูล ออกแบบและผลิต ผลงาน : เครื่องเดนตีสแกน DentiiScan        เดนตีสแกน 2.0 (DentiiScan 2.0) เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สำหรับงานทันตกรรม คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ 3 มิติ แบบลำรังสีทรงกรวยสำหรับงานทันตกรรมและศัลยกรรมบริเวณช่องปากและใบหน้า ช่วยทำให้การวินิจฉัยโรคและวางแผนการผ่าตัดมีความแม่นยำ แผลมีขนาดเล็กและมีความปลอดภัยมากขึ้น สามารถใช้ในการวินิจฉัยโรค และวางแผนการรักษาในงานทันตกรรมรากฟันเทียม การผ่าฟันคุด […]

The post แพลตฟอร์มดิจิทัลทางทันตกรรม (Digital Dentistry Platform) appeared first on NAC2021.

]]>

แพลตฟอร์มดิจิทัลทางทันตกรรม (Digital Dentistry Platform)

แพลตฟอร์มดิจิทัลทางทันตกรรม (Digital Dentistry Platform)

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกและเครื่องมือแพทย์ (A-MED)

       แพลตฟอร์มดิจิทัลทางทันตกรรม (Digital Dentistry Platform) เป็นการบูรณาการนวัตกรรมทางด้านท้นตกรรมที่พัฒนา ในประเทศแบบครบวงจร เริ่มตั้งแต่การนำเทคโนโลยีเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ทางทันตกรรม (DentiiScan) การวางแผนการฝังรากฟันเทียมด้วยซอฟต์แวร์ (DentiPlan) เพื่อใช้ในการผลิตอุปกรณ์นำเจาะเพื่อฝังรากฟันเทียม (Surgical Drill Guide) ร่วมกับการใช้ระบบรากฟันเทียมไทย (Dental Implant) ตลอดจนการออกแบบและผลิตครอบฟันสะพานฟันด้วยเทคโนโลยีการออกแบบและควบคุมการผลิตด้วยคอมพิวเตอร์ (Dental CAD/CAM/CNC/3D Printer) ทำให้ผู้ป่วยคนไทยสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิทัลทางทันตกรรมเพื่อสุขภาพช่องปากและฟันได้ง่ายขึ้น และสามารถรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของประเทศไทยได้อย่างต่อเนื่อง

ภาพแพลตฟอร์มดิจิทัลทางทันตกรรม แสดงกระบวนการรักษาโดยการเก็บข้อมูล ออกแบบและผลิต

ผลงาน : เครื่องเดนตีสแกน DentiiScan

       เดนตีสแกน 2.0 (DentiiScan 2.0) เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สำหรับงานทันตกรรม คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ 3 มิติ แบบลำรังสีทรงกรวยสำหรับงานทันตกรรมและศัลยกรรมบริเวณช่องปากและใบหน้า ช่วยทำให้การวินิจฉัยโรคและวางแผนการผ่าตัดมีความแม่นยำ แผลมีขนาดเล็กและมีความปลอดภัยมากขึ้น สามารถใช้ในการวินิจฉัยโรค และวางแผนการรักษาในงานทันตกรรมรากฟันเทียม การผ่าฟันคุด และการผ่าตัดบริเวณช่องปาก ขากรรไกร และใบหน้า รวมทั้งการตรวจดูความผิดปกติของไซนัส ผู้ป่วยที่ถูกถ่ายด้วยเครื่องเดนตีสแกนจะได้รับปริมาณรังสีที่ต่ำกว่าเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ทางการแพทย์ทั่วไป

     ณ เดือนธันวาคม 2561 มีเครื่องเดนตีสแกนทั้งรุ่น 1.1 และ 2.0 เปิดให้บริการแก่ประชาชนแล้ว รวมทั้งหมด 20 เครื่อง มีการใช้งานมากกว่า 5,000 ครั้ง และในปี พ.ศ. 2563 ได้มีเครื่องเดนตีสแกนให้บริการรวมทั้งสิ้น 60 เครื่องทั่วประเทศ เครื่องเดนตีสแกนผ่านการตรวจสอบความปลอดภัยด้านต่างๆ และได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 13485 นอกจากนี้ยังได้ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตให้กับบริษัทเอกชน ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

ทรัพย์สินทางปัญญา

  • สิทธิบัตรการประดิษฐ์เลขที่คำขอ 1201004688 
  • ลิขสิทธิ์เลขที่ 375450, 374098, 374096, 374102, 374099, 374100, 340768 
  • เครื่องหมายการค้าเลขที่ 857894, 940809, 684300

RadiiView-DentiiCloud

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

  • Login with security awareness (2 options): Use OTP, Single sign-on
  • RadiiView (viewer) แสดงผลภาพ 3 มิติผ่านระบบคลาวด์
  • ทดแทนการเขียนไฟล์ภาพใส่แผ่นซีดี
  • สามารถดูภาพได้ทุกที่ทุกเวลา
  • สามารถใช้ปรึกษาระหว่างทันตแพทย์/แพทย์แบบออนไลน์ (Teleconsult)

วิจัยและพัฒนาโดย
      ดร. เสาวภาคย์ ธงวิจิตรมณี, ดร. วลิตะ นาคบัวแก้ว ดร. ณัฐนันท์ ทัดพิทักษ์กุล และคณะ ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกและเครื่องมือแพทย์ (A-MED)

ผลิตภัณฑ์ทางทันตกรรม : M-Bone แคลเซียมฟอสเฟตเซรามิกส์สังเคราะห์ชนิดมีรูพรุนต่อเนื่องสำหรับใช้เป็นวัสดุทดแทนกระดูกมนุษย์

       M-Bone เป็นต้นแบบวัสดุสังเคราะห์ที่มีความปลอดภัยเนื่องจากได้ผ่านการทดสอบความปลอดภัยทางชีวภาพตามมาตรฐาน ISO 10993 โดยห้องปฏิบัติการที่ได้มาตรฐาน และดำเนินการผลิตโดยโรงงานต้นแบบที่ได้มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 13485 โดยมีขอบข่ายครอบคลุมกระบวนการวิจัยและพัฒนาและการผลิตต้นแบบ นอกจากนี้ยังได้รับการขึ้นทะเบียนสถานที่ผลิตเครื่องมือแพทย์ จากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กระทรวงสาธารณสุข และอยู่ระหว่างดำเนินการขออนุญาตผลิตเพื่อการศึกษาวิจัยทางคลินิก ขณะเดียวกันก็ได้รับอนุญาตให้เผยแพร่คำโฆษณาเพื่อให้สามารถโฆษณาต่อผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุขซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายของสินค้าอีกด้วย

วิจัยและพัฒนาโดย
   ดร. นฤภร มนต์มธุรพจน์  ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกและเครื่องมือแพทย์ (A-MED)

ติดต่อสอบถาม

กุลภัทร์ เฉลิมงาม
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ:

The post แพลตฟอร์มดิจิทัลทางทันตกรรม (Digital Dentistry Platform) appeared first on NAC2021.

]]>
VIP-Safe Plus ชุดตรวจแลมป์เคมีไฟฟ้าแบบรวดเร็วขนาดพกพาเพื่อการตรวจหาเชื้อก่อโรคในอาหาร http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/16/na38-vip-safe-plus/ Tue, 16 Mar 2021 07:58:24 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=14732 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วรรณสิกา เกียรติปฐมชัย และคณะ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ VIP-Safe Plus หรือ ชุดตรวจแลมป์เคมีไฟฟ้าแบบรวดเร็วขนาดพกพา เพื่อการตรวจหาเชื้อก่อโรคในอาหาร โดยผสาน 3 เทคโนโลยีที่ทันสมัยจาก ไบโอเทค เนคเทค และมหาวิทยาลัยมหิดล เป็นเครื่องมือที่ใช้งานง่าย เหมาะกับห้องปฏิบัติการขนาดเล็กและงานภาคสนาม ช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย สามารถนำไปใช้วิเคราะห์จุดเสี่ยงในกระบวนการผลิตอาหารร่วมกับระบบประเมินคุณภาพอื่นๆ เช่น HACCP หรือ GMP เพื่อช่วยลดการปนเปื้อนของแบคทีเรียก่อโรคในอาหารได้ คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี ใช้เวลาตรวจเพียง 1 ชม. ด้วยเทคนิคแลมป์ที่มีความไวและความจำเพาะสูง ใช้สารทดสอบปริมาณน้อย ด้วยขั้วไฟฟ้ากราฟีนแบบพิมพ์ได้ อุปกรณ์มีขนาดเล็ก พกพาง่าย ใช้สะดวก เหมาะกับการใช้งานภาคสนาม เครื่องอ่านผล สามารถตรวจเชื้อก่อโรคได้ถึง 3 ชนิด ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย ราคาถูก ใช้งานง่าย ได้ผลแม่นยำ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ชุดตรวจหาเชื้อก่อโรคในอาหารแบบขนาดพกพา สถานภาพของผลงาน คำขออนุสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 1703001682 ยื่นคำขอวันที่ 1 กันยายน […]

The post VIP-Safe Plus ชุดตรวจแลมป์เคมีไฟฟ้าแบบรวดเร็วขนาดพกพา<br>เพื่อการตรวจหาเชื้อก่อโรคในอาหาร appeared first on NAC2021.

]]>

VIP-Safe Plus ชุดตรวจแลมป์เคมีไฟฟ้าแบบรวดเร็วขนาดพกพา
เพื่อการตรวจหาเชื้อก่อโรคในอาหาร

VIP-Safe Plus ชุดตรวจแลมป์เคมีไฟฟ้าแบบรวดเร็วขนาดพกพา
เพื่อการตรวจหาเชื้อก่อโรคในอาหาร

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วรรณสิกา เกียรติปฐมชัย และคณะ
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

        VIP-Safe Plus หรือ ชุดตรวจแลมป์เคมีไฟฟ้าแบบรวดเร็วขนาดพกพา เพื่อการตรวจหาเชื้อก่อโรคในอาหาร โดยผสาน 3 เทคโนโลยีที่ทันสมัยจาก ไบโอเทค เนคเทค และมหาวิทยาลัยมหิดล เป็นเครื่องมือที่ใช้งานง่าย เหมาะกับห้องปฏิบัติการขนาดเล็กและงานภาคสนาม ช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย สามารถนำไปใช้วิเคราะห์จุดเสี่ยงในกระบวนการผลิตอาหารร่วมกับระบบประเมินคุณภาพอื่นๆ เช่น HACCP หรือ GMP เพื่อช่วยลดการปนเปื้อนของแบคทีเรียก่อโรคในอาหารได้

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

  • ใช้เวลาตรวจเพียง 1 ชม. ด้วยเทคนิคแลมป์ที่มีความไวและความจำเพาะสูง
  • ใช้สารทดสอบปริมาณน้อย ด้วยขั้วไฟฟ้ากราฟีนแบบพิมพ์ได้
  • อุปกรณ์มีขนาดเล็ก พกพาง่าย ใช้สะดวก เหมาะกับการใช้งานภาคสนาม
  • เครื่องอ่านผล สามารถตรวจเชื้อก่อโรคได้ถึง 3 ชนิด
  • ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย ราคาถูก ใช้งานง่าย ได้ผลแม่นยำ

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

        ชุดตรวจหาเชื้อก่อโรคในอาหารแบบขนาดพกพา

สถานภาพของผลงาน

        คำขออนุสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 1703001682 ยื่นคำขอวันที่ 1 กันยายน 2560

กลุ่มเป้าหมาย

  • ผู้ที่สนใจหรือนักลงทุนที่ต้องการผลิตและจำหน่าย
  • ห้องปฏิบัติการตรวจหาเชื้อก่อโรคในอาหาร

ชุดตรวจเชื้อก่อโรคในอาหาร VIP Safe PLUS+++

นักวิจัย สวทช. พัฒนาชุดตรวจเชื้อก่อโรคในอาหาร VIP Safe PLUS+++ ที่มีความจำเพาะต่อเชื้อแบคทีเรีย ที่ทำให้เกิดโรคในกลุ่มของอาหารเป็นพิษ 3 ชนิด ได้แก่ เชื้อวิบริโอ คลอเรลี่, วิบริโอ พาราฮีโมไลติคัส และ อีโคไล สายพันธุ์โอวันไฟว์เซเว่น โดยได้มีการนำ เทคนิคแลมป์ เทคโนโลยีการผลิตขั้วไฟฟ้ากราฟีนด้วยการพิมพ์สกรีน และเทคโนโลยีตรวจวัดด้วยเซ็นเซอร์เคมีไฟฟ้า มาพัฒนาเป็นชุดตรวจแลมป์เคมีไฟฟ้าแบบรวดเร็ว ขนาดพกพา จุดเด่นคือใช้เวลาไม่นานในการตรวจหาเชื้อก่อโรคในอาหาร เครื่องมือมีขนาดเล็กพกพาง่าย ใช้สะดวก ราคาถูก เหมาะกับการใช้งานภาคสนาม ในห้องปฏิบัติการขนาดเล็ก หรือนำไปใช้ร่วมกับระบบประกันคุณภาพของอุตสาหกรรมอาหาร เพื่อควบคุมคุณภาพและสร้างความน่าเชื่อถือด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ ผลงานวิจัยนี้ได้รับรางวัลแพลตินั่ม ซึ่งเป็นรางวัลสูงสุด ในการประกวดสิ่งประดิษฐ์นานาชาติที่ประเทศไต้หวัน ปี 2560

ติดต่อสอบถาม

รัชวรรณ ฐานัตถวงศ์เจริญ
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post VIP-Safe Plus ชุดตรวจแลมป์เคมีไฟฟ้าแบบรวดเร็วขนาดพกพา<br>เพื่อการตรวจหาเชื้อก่อโรคในอาหาร appeared first on NAC2021.

]]>
ชุดตรวจโรคกุ้งตายด่วน (EMS) ด้วยเทคนิค LAMP Nano gold http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/16/na37-shrimp-ems-lamp-nano-gold/ Tue, 16 Mar 2021 07:39:40 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=14726 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วรรณสิกา เกียรติปฐมชัย และคณะ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ โรคกุ้งตายด่วน (EMS) โรคที่น่ากลัวที่สุดของคนเลี้ยงกุ้ง คงหนีไม่พ้น โรคกุ้งตายด่วน ที่มาไวไปไวสมชื่อ EMS กว่าจะรู้ตัว กุ้งก็ตายเกือบหมดบ่อแล้ว แต่จากนี้ไม่ต้องกลัวอีกต่อไป ด้วยชุดตรวจ Amp-Gold ที่ใช้เทคนิคแลมป์ร่วมกับการตรวจจับ DNA โดยมีความไวในการตรวจที่ 100 CFU แถมยังใช้งานง่าย ดูสีได้ด้วยตาเปล่า ราคาถูก และไม่ต้องใช้เครื่อง PCR หรือเครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่มีราคาแพง ช่วยให้เกษตรกรตรวจเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคได้เองตลอดเวลา ลดปัญหากุ้งตายด่วนได้ทันท่วงที คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี ทราบผลตรวจภายใน 1 ชั่วโมงเร็วกว่าเทคนิค PCR 100 เท่า อ่านผลง่าย ด้วยตาเปล่า ถ้ากุ้งติดเชื้อ จะเห็นเป็นสีแดง ใช้ง่าย ราคาถูก ประสิทธิภาพสูง การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี สามารถใช้ตรวจสอบกุ้งได้ทุกระยะการเลี้ยง สามารถใช้สำหรับกุ้งที่เลี้ยงในน้ำจืด น้ำกร่อย และน้ำเค็ม สถานภาพของผลงาน คำขออนุสิทธิบัตร เลขที่ 1603000321 […]

The post ชุดตรวจโรคกุ้งตายด่วน (EMS) ด้วยเทคนิค LAMP Nano gold appeared first on NAC2021.

]]>

ชุดตรวจโรคกุ้งตายด่วน (EMS) ด้วยเทคนิค LAMP Nano gold

ชุดตรวจโรคกุ้งตายด่วน (EMS) ด้วยเทคนิค LAMP Nano gold

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วรรณสิกา เกียรติปฐมชัย และคณะ
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

โรคกุ้งตายด่วน (EMS)

       โรคที่น่ากลัวที่สุดของคนเลี้ยงกุ้ง คงหนีไม่พ้น โรคกุ้งตายด่วน ที่มาไวไปไวสมชื่อ EMS กว่าจะรู้ตัว กุ้งก็ตายเกือบหมดบ่อแล้ว แต่จากนี้ไม่ต้องกลัวอีกต่อไป ด้วยชุดตรวจ Amp-Gold ที่ใช้เทคนิคแลมป์ร่วมกับการตรวจจับ DNA โดยมีความไวในการตรวจที่ 100 CFU แถมยังใช้งานง่าย ดูสีได้ด้วยตาเปล่า ราคาถูก และไม่ต้องใช้เครื่อง PCR หรือเครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่มีราคาแพง ช่วยให้เกษตรกรตรวจเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคได้เองตลอดเวลา ลดปัญหากุ้งตายด่วนได้ทันท่วงที

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

  • ทราบผลตรวจภายใน 1 ชั่วโมงเร็วกว่าเทคนิค PCR 100 เท่า
  • อ่านผลง่าย ด้วยตาเปล่า ถ้ากุ้งติดเชื้อ จะเห็นเป็นสีแดง
  • ใช้ง่าย ราคาถูก ประสิทธิภาพสูง

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

  • สามารถใช้ตรวจสอบกุ้งได้ทุกระยะการเลี้ยง
  • สามารถใช้สำหรับกุ้งที่เลี้ยงในน้ำจืด น้ำกร่อย และน้ำเค็ม

สถานภาพของผลงาน

        คำขออนุสิทธิบัตร เลขที่ 1603000321 เรื่อง กรรมวิธีการตรวจหาเชื้อแบคทีเรีย V. parahaemolyticus ก่อโรคตับตายเฉียบพลันในกุ้ง ยื่นคำขอวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2559

กลุ่มเป้าหมาย

        ผู้ที่สนใจหรือนักลงทุนที่ต้องการผลิตและจำหน่ายชุดตรวจโรคสัตว์น้ำ

ติดต่อสอบถาม

รัชวรรณ ฐานัตถวงศ์เจริญ
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post ชุดตรวจโรคกุ้งตายด่วน (EMS) ด้วยเทคนิค LAMP Nano gold appeared first on NAC2021.

]]>
ชุดตรวจโรคสเตรปโตคอคโคซิสในปลานิลและปลาทับทิม แบบง่าย รวดเร็ว และแม่นยำ (blueAMP) http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/16/na36-blueamp/ Tue, 16 Mar 2021 07:28:26 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=14692 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วรรณสิกา เกียรติปฐมชัย และคณะ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC) blueAMP เป็นชุดตรวจหาเชื้อก่อโรคในปลานิลและปลาทับทิม ด้วยเทคนิคแลมป์เปลี่ยนสี มีราคาถูก ใช้งานง่าย เหมาะสำหรับงานภาคสนามและห้องปฏิบัติการขนาดเล็ก อ่านผลตรวจได้ทันทีด้วยตัวเอง ไม่ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญ ทำให้สามารถจัดการป้องกันการระบาดของโรคได้อย่างรวดเร็ว และชุดตรวจนี้ยังประยุกต์ใช้กับการตรวจโรคในปลาเศรษฐกิจของภูมิภาคอื่นได้ด้วย เช่น ปลาสวาย ปลาดุกบิ๊กอุย ปลาเทราต์ และปลาสวยงาม คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี ใช้งานง่าย อ่านผลได้ทันทีด้วยตาเปล่า รวดเร็ว รู้ผลภายในเวลา 1 ชั่วโมง ต้นทุนการผลิตและการทดสอบต่ำ ถูกกว่าวิธีเดิม 5-8 เท่า การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี สามารถใช้ในงานภาคสนามและห้องปฏิบัติการได้ สามารถประยุกต์ใช้กับปลาชนิดอื่นได้ สถานภาพของผลงาน อนุสิทธิบัตรเลขที่ 11956 เรื่อง กรรมวิธีการตรวจหาเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus agalactiae ก่อโรคในปลา อนุสิทธิบัตรเลขที่ 12062 เรื่อง กรรมวิธีการตรวจหาเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus iniae ก่อโรคในปลา กลุ่มเป้าหมาย ผู้ที่สนใจหรือนักลงทุนที่ต้องการผลิตและจำหน่ายชุดตรวจโรคสัตว์น้ำ ติดต่อสอบถาม […]

The post ชุดตรวจโรคสเตรปโตคอคโคซิสในปลานิลและปลาทับทิม <br>แบบง่าย รวดเร็ว และแม่นยำ (blueAMP) appeared first on NAC2021.

]]>

ชุดตรวจโรคสเตรปโตคอคโคซิสในปลานิลและปลาทับทิม
แบบง่าย รวดเร็ว และแม่นยำ (blueAMP)

ชุดตรวจโรคสเตรปโตคอคโคซิสในปลานิลและปลาทับทิม
แบบง่าย รวดเร็ว และแม่นยำ (blueAMP)

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วรรณสิกา เกียรติปฐมชัย และคณะ
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC)

        blueAMP เป็นชุดตรวจหาเชื้อก่อโรคในปลานิลและปลาทับทิม ด้วยเทคนิคแลมป์เปลี่ยนสี มีราคาถูก ใช้งานง่าย เหมาะสำหรับงานภาคสนามและห้องปฏิบัติการขนาดเล็ก อ่านผลตรวจได้ทันทีด้วยตัวเอง ไม่ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญ ทำให้สามารถจัดการป้องกันการระบาดของโรคได้อย่างรวดเร็ว และชุดตรวจนี้ยังประยุกต์ใช้กับการตรวจโรคในปลาเศรษฐกิจของภูมิภาคอื่นได้ด้วย เช่น ปลาสวาย ปลาดุกบิ๊กอุย ปลาเทราต์ และปลาสวยงาม

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

  • ใช้งานง่าย อ่านผลได้ทันทีด้วยตาเปล่า
  • รวดเร็ว รู้ผลภายในเวลา 1 ชั่วโมง
  • ต้นทุนการผลิตและการทดสอบต่ำ ถูกกว่าวิธีเดิม 5-8 เท่า

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

  • สามารถใช้ในงานภาคสนามและห้องปฏิบัติการได้
  • สามารถประยุกต์ใช้กับปลาชนิดอื่นได้

สถานภาพของผลงาน

  • อนุสิทธิบัตรเลขที่ 11956 เรื่อง กรรมวิธีการตรวจหาเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus agalactiae ก่อโรคในปลา
  • อนุสิทธิบัตรเลขที่ 12062 เรื่อง กรรมวิธีการตรวจหาเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus iniae ก่อโรคในปลา

กลุ่มเป้าหมาย

        ผู้ที่สนใจหรือนักลงทุนที่ต้องการผลิตและจำหน่ายชุดตรวจโรคสัตว์น้ำ

ติดต่อสอบถาม

รัชวรรณ ฐานัตถวงศ์เจริญ
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post ชุดตรวจโรคสเตรปโตคอคโคซิสในปลานิลและปลาทับทิม <br>แบบง่าย รวดเร็ว และแม่นยำ (blueAMP) appeared first on NAC2021.

]]>
Cucurbits-3 in 1 Easy kit ชุดตรวจวินิจฉัยเชื้อก่อโรคในพืชตระกูลแตง3 ชนิดในคราวเดียวกัน http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/16/na34-cucurbits-easy-kit/ Tue, 16 Mar 2021 07:10:23 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=14655 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC) การตรวจวินิจฉัยเชื้อก่อโรคพืชที่มีประสิทธิภาพถูกต้องแม่นยำ สะดวก รวดเร็ว ราคาถูกและสามารถตรวจโรคหลายๆ ชนิดได้ในคราวเดียวกัน นับว่ามีประโยชน์อย่างยิ่งในการศึกษาระบาดวิทยาของโรคในแปลงปลูก เพื่อหาวิธีการจัดการควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพ ในการศึกษาครั้งนี้ได้พัฒนาชุดตรวจแบบรวดเร็วในรูปแบบ immunochromatographic strip test เพื่อใช้สำหรับตรวจเชื้อก่อโรคในพืชตระกูลแตง 3 ชนิด ได้แก่ เชื้อไวรัสในกลุ่มโพทีไวรัส (Potyvirus) เชื้อวอเทอร์เมลอน โมเซอิค ไวรัส-ทู (Watermelon mosaic virus-2, WMV-2) และเชื้อแบคทีเรีย Acidovorax avenae subsp. citrulli (Aac) ได้พร้อมกันใน 1 แถบตรวจ (strip) ที่มาและความสำคัญ การตรวจวินิจฉัยเชื้อก่อโรคพืชที่มีประสิทธิภาพถูกต้องแม่นยำ สะดวก รวดเร็ว ราคาถูกและสามารถตรวจโรคหลายๆ ชนิดได้ในคราวเดียวกัน นับว่ามีประโยชน์อย่างยิ่งในการศึกษาระบาดวิทยาของโรคในแปลงปลูก เพื่อหาวิธีการจัดการควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพ ในการศึกษาครั้งนี้ได้พัฒนาชุดตรวจแบบรวดเร็วในรูปแบบ immunochromatographic strip test เพื่อใช้สำหรับตรวจเชื้อก่อโรคในพืชตระกูลแตง 3 ชนิด ได้แก่ […]

The post Cucurbits-3 in 1 Easy kit ชุดตรวจวินิจฉัยเชื้อก่อโรคในพืชตระกูลแตง<br>3 ชนิดในคราวเดียวกัน appeared first on NAC2021.

]]>

Cucurbits-3 in 1 Easy kit ชุดตรวจวินิจฉัยเชื้อก่อโรคในพืชตระกูลแตง
3 ชนิดในคราวเดียวกัน

Cucurbits-3 in 1 Easy kit ชุดตรวจวินิจฉัยเชื้อก่อโรคในพืชตระกูลแตง
3 ชนิดในคราวเดียวกัน

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC)

       การตรวจวินิจฉัยเชื้อก่อโรคพืชที่มีประสิทธิภาพถูกต้องแม่นยำ สะดวก รวดเร็ว ราคาถูกและสามารถตรวจโรคหลายๆ ชนิดได้ในคราวเดียวกัน นับว่ามีประโยชน์อย่างยิ่งในการศึกษาระบาดวิทยาของโรคในแปลงปลูก เพื่อหาวิธีการจัดการควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพ ในการศึกษาครั้งนี้ได้พัฒนาชุดตรวจแบบรวดเร็วในรูปแบบ immunochromatographic strip test เพื่อใช้สำหรับตรวจเชื้อก่อโรคในพืชตระกูลแตง 3 ชนิด ได้แก่ เชื้อไวรัสในกลุ่มโพทีไวรัส (Potyvirus) เชื้อวอเทอร์เมลอน โมเซอิค ไวรัส-ทู (Watermelon mosaic virus-2, WMV-2) และเชื้อแบคทีเรีย Acidovorax avenae subsp. citrulli (Aac) ได้พร้อมกันใน 1 แถบตรวจ (strip)

ที่มาและความสำคัญ

        การตรวจวินิจฉัยเชื้อก่อโรคพืชที่มีประสิทธิภาพถูกต้องแม่นยำ สะดวก รวดเร็ว ราคาถูกและสามารถตรวจโรคหลายๆ ชนิดได้ในคราวเดียวกัน นับว่ามีประโยชน์อย่างยิ่งในการศึกษาระบาดวิทยาของโรคในแปลงปลูก เพื่อหาวิธีการจัดการควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพ ในการศึกษาครั้งนี้ได้พัฒนาชุดตรวจแบบรวดเร็วในรูปแบบ immunochromatographic strip test เพื่อใช้สำหรับตรวจเชื้อก่อโรคในพืชตระกูลแตง 3 ชนิด ได้แก่ เชื้อไวรัสในกลุ่มโพทีไวรัส (Potyvirus) เชื้อวอเทอร์เมลอน โมเซอิค ไวรัส-ทู (Watermelon mosaic virus-2, WMV-2) และเชื้อแบคทีเรีย Acidovorax avenae subsp. citrulli (Aac) ได้พร้อมกันใน 1 แถบตรวจ (strip)

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

        ชุดตรวจวินิจฉัยเชื้อก่อโรคในพืชตระกูลแตง

สถานภาพของผลงาน

        อนุสิทธิบัตร เลขที่ 10414 เรื่อง แผ่นแถบสำเร็จรูปสำหรับตรวจหาเชื้อก่อโรคในพืชตระกูลแตง 3 เชื้อได้พร้อมกันในคราวเดียว

กลุ่มเป้าหมาย

  • ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมการเกษตร
  • เกษตรกร

นักวิจัย

        ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC)

  • นายสมบัติ รักประทานพร
  • นางสาวมัลลิกา กำภูศิริ
  • นางสาวอรวรรณ หิมานันโต
  • นางสาวอรประไพ คชนันทน์

ติดต่อสอบถาม

รัชวรรณ ฐานัตถวงศ์เจริญ
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post Cucurbits-3 in 1 Easy kit ชุดตรวจวินิจฉัยเชื้อก่อโรคในพืชตระกูลแตง<br>3 ชนิดในคราวเดียวกัน appeared first on NAC2021.

]]>
VipPro ชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืชจากแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/16/na35-biocontrol-vippro/ Tue, 16 Mar 2021 04:21:30 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=14589 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ดร.บุญเฮียง พรมดอนกอย และคณะ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC) นักวิจัยพบว่าโปรตีน Vip3A ที่พบได้ในแบคทีเรียบีที (Bacillus thuringiensis) มีฤทธิ์ฆ่าแมลงศัตรูพืชได้หลายชนิด เช่น หนอนกระทู้หอม และหนอนกระทู้ผัก ซึ่งเป็นแมลงศัตรูพืชที่สำคัญของประเทศไทย มักพบการแพร่ระบาดสร้างความเสียหายแก่พืชผักในวงกว้าง ทีมวิจัยจึงนำโปรตีน Vip3A มาพัฒนาเป็น VipPro หรือชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืช โดยคิดค้นสูตรและกระบวนการผลิตที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการกำจัดแมลงให้สูงขึ้น ใช้งานง่ายเพียงผสมน้ำแล้วฉีดพ่น ออกฤทธิ์เร็ว ลดความสูญเสียและร่องรอยตำหนิบนใบพืช ปลอดภัยทั้งผู้ปลูก ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม สามารถใช้ได้กับแมลงศัตรูพืชที่ดื้อต่อสารเคมีแล้ว คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี ศัตรูพืชหยุดกินอาหารภายใน 1 ชม. ลดความเสียหายของพืชได้มาก มีประสิทธิภาพสูง ปลอดภัยไม่เป็นอันตรายต่อต่อผู้ใช้และผู้บริโภค ไม่มีของเสียในกระบวนการผลิต สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทุกส่วน ใช้งานง่าย เพียงผสมน้ำแล้วฉีดพ่น หรือผสมกับการให้ปุ๋ยทางใบ VipPro ออกฤทธิ์เสริมกับชีวภัณฑ์อื่นได้ดี เช่น ไวรัสเอนพีวี ราบิวเวอเรีย การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ผลิตภัณฑ์ชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืช สถานภาพของผลงาน อนุสิทธิบัตร เลขที่ 12300 […]

The post VipPro ชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืชจากแบคทีเรีย <i>Bacillus thuringiensis</i> appeared first on NAC2021.

]]>

VipPro ชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืชจากแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis

VipPro ชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืชจากแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ดร.บุญเฮียง พรมดอนกอย และคณะ
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC)

        นักวิจัยพบว่าโปรตีน Vip3A ที่พบได้ในแบคทีเรียบีที (Bacillus thuringiensis) มีฤทธิ์ฆ่าแมลงศัตรูพืชได้หลายชนิด เช่น หนอนกระทู้หอม และหนอนกระทู้ผัก ซึ่งเป็นแมลงศัตรูพืชที่สำคัญของประเทศไทย มักพบการแพร่ระบาดสร้างความเสียหายแก่พืชผักในวงกว้าง ทีมวิจัยจึงนำโปรตีน Vip3A มาพัฒนาเป็น VipPro หรือชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืช โดยคิดค้นสูตรและกระบวนการผลิตที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการกำจัดแมลงให้สูงขึ้น ใช้งานง่ายเพียงผสมน้ำแล้วฉีดพ่น ออกฤทธิ์เร็ว ลดความสูญเสียและร่องรอยตำหนิบนใบพืช ปลอดภัยทั้งผู้ปลูก ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม สามารถใช้ได้กับแมลงศัตรูพืชที่ดื้อต่อสารเคมีแล้ว

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

  • ศัตรูพืชหยุดกินอาหารภายใน 1 ชม. ลดความเสียหายของพืชได้มาก
  • มีประสิทธิภาพสูง ปลอดภัยไม่เป็นอันตรายต่อต่อผู้ใช้และผู้บริโภค
  • ไม่มีของเสียในกระบวนการผลิต สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทุกส่วน
  • ใช้งานง่าย เพียงผสมน้ำแล้วฉีดพ่น หรือผสมกับการให้ปุ๋ยทางใบ
  • VipPro ออกฤทธิ์เสริมกับชีวภัณฑ์อื่นได้ดี เช่น ไวรัสเอนพีวี ราบิวเวอเรีย

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

        ผลิตภัณฑ์ชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืช

สถานภาพของผลงาน

        อนุสิทธิบัตร เลขที่ 12300 เรื่อง กระบวนเพาะเลี้ยงเชื้อบีที เพื่อผลิตโปรตีน Vip3A ในระดับห้องปฏิบัติการ

กลุ่มเป้าหมาย

  • ผู้ที่สนใจหรือนักลงทุนที่ต้องการผลิตและจำหน่ายชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืช
  • เกษตรกร

ติดต่อสอบถาม

รัชวรรณ ฐานัตถวงศ์เจริญ
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post VipPro ชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืชจากแบคทีเรีย <i>Bacillus thuringiensis</i> appeared first on NAC2021.

]]>
ชุดตรวจวินิจฉัยโรคใบด่างมันสำปะหลังด้วยเทคนิคอิไลซ่า http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/16/na33-elisa-cassava/ Tue, 16 Mar 2021 03:37:56 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=14534 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC) โรคใบด่างมันสำปะหลัง ไวรัสใบด่างมันสำปะหลังเป็นโรคสำคัญที่สร้างความเสียหายต่อผลผลิตมันสำปะหลังทั่วโลกตั้งแต่ร้อยละ 80-100 พบรายงานครั้งแรกในปี พ.ศ. 2437 ในแถบชายฝั่งตะวันออกของทวีปอัฟริกา ในทวีปเอเชียมีรายงานครั้งแรกประมาณ พ.ศ. 2499 ที่ประเทศอินเดีย และประเทศศรีลังกา ไวรัสใบด่างมันสำปะหลังแพร่กระจายสู่เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ในปี พ.ศ. 2558 ที่จังหวัดรัตนคีรี ประเทศกัมพูชา และต่อมาในปีพ.ศ. 2559 ที่จังหวัดเตียนิญ ประเทศเวียดนาม ประเทศ ไทยพบรายงานครั้งแรกในปี พ.ศ. 2561 ในพื้นที่ติดชายแดนกัมพูชา ในจังหวัดศรีสะเกษ และต่อมาพบเพิ่มเติมในพื้นที่ จังหวัดปราจีนบุรี บุรีรัมย์ อุบลราชธานี สุรินทร์ สระแก้ว และนครราชสีมา ในปี พ.ศ. 2562 พบการระบาดของโรคใบด่าง มันสำปะหลังในพื้นที่เดิมและพื้นที่ใหม่กระจายมากขึ้น ดังนั้นการตรวจกรองไวรัสในท่อนพันธุ์จะช่วยลดความเสี่ยงของเกษตรกรในการนำท่อนพันธุ์ที่เป็นโรคไปปลูกต่อ และชะลอการแพร่กระจายของไวรัสลงได้ เทคนิค Elisa คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี ถูกต้อง แม่นยำ สามารถตรวจตัวอย่างได้คราวละจำนวนมาก ตรวจเชื้อไวรัสได้จาก ใบยอด […]

The post ชุดตรวจวินิจฉัยโรคใบด่างมันสำปะหลังด้วยเทคนิคอิไลซ่า appeared first on NAC2021.

]]>

ชุดตรวจวินิจฉัยโรคใบด่างมันสำปะหลังด้วยเทคนิคอิไลซ่า

ชุดตรวจวินิจฉัยโรคใบด่างมันสำปะหลังด้วยเทคนิคอิไลซ่า

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC)

โรคใบด่างมันสำปะหลัง

        ไวรัสใบด่างมันสำปะหลังเป็นโรคสำคัญที่สร้างความเสียหายต่อผลผลิตมันสำปะหลังทั่วโลกตั้งแต่ร้อยละ 80-100 พบรายงานครั้งแรกในปี พ.ศ. 2437 ในแถบชายฝั่งตะวันออกของทวีปอัฟริกา ในทวีปเอเชียมีรายงานครั้งแรกประมาณ พ.ศ. 2499 ที่ประเทศอินเดีย และประเทศศรีลังกา ไวรัสใบด่างมันสำปะหลังแพร่กระจายสู่เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ในปี พ.ศ. 2558 ที่จังหวัดรัตนคีรี ประเทศกัมพูชา และต่อมาในปีพ.ศ. 2559 ที่จังหวัดเตียนิญ ประเทศเวียดนาม ประเทศ ไทยพบรายงานครั้งแรกในปี พ.ศ. 2561 ในพื้นที่ติดชายแดนกัมพูชา ในจังหวัดศรีสะเกษ และต่อมาพบเพิ่มเติมในพื้นที่ จังหวัดปราจีนบุรี บุรีรัมย์ อุบลราชธานี สุรินทร์ สระแก้ว และนครราชสีมา ในปี พ.ศ. 2562 พบการระบาดของโรคใบด่าง มันสำปะหลังในพื้นที่เดิมและพื้นที่ใหม่กระจายมากขึ้น ดังนั้นการตรวจกรองไวรัสในท่อนพันธุ์จะช่วยลดความเสี่ยงของเกษตรกรในการนำท่อนพันธุ์ที่เป็นโรคไปปลูกต่อ และชะลอการแพร่กระจายของไวรัสลงได้

เทคนิค Elisa

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

  • ถูกต้อง แม่นยำ สามารถตรวจตัวอย่างได้คราวละจำนวนมาก
  • ตรวจเชื้อไวรัสได้จาก ใบยอด ก่นเขียว และ ใบอ่อนจากตาข้าง
  • มีความไวสูงกว่าและราคาถูกกว่าชุดตรวจที่นำเข้า

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

        ชุดตรวจวินิจฉัยโรคใบด่างมันสำปะหลัง

สถานภาพของผลงาน

        คำขอสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 2001000526 ยื่นคำขอวันที่ 29 มกราคม 2563

กลุ่มเป้าหมาย

        ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมการเกษตร

นักวิจัย

        นักวิจัยศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

  • แสงสูรย์ เจริญวิไลศิริ
  • ชาญณรงค์ ศรีภิบาล
  • สมบัติ รักประทานพร
  • มัลลิกา กำภูศิริ
  • นุชนาถ วารินทร์
  • เบญจรงค์ พวงรัตน์
  • ผกามาศ ชิดเชื้อ
  • สิริมา ศิริไพฑูรย์
  • อรประไพ คชนันทน์

ติดต่อสอบถาม

รัชวรรณ ฐานัตถวงศ์เจริญ
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post ชุดตรวจวินิจฉัยโรคใบด่างมันสำปะหลังด้วยเทคนิคอิไลซ่า appeared first on NAC2021.

]]>
เครื่องตรวจวัดสุขภาพเบื้องต้นอัตโนมัติ Health Check Kiosk http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/15/na08-health-check-kiosk/ Mon, 15 Mar 2021 07:06:37 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=14322 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ดร.ชูศักดิ์ ธนวัฒโน และคณะ ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกและเครื่องมือแพทย์ (A-MED) ข้อมูลความดันโลหิตและน้ำหนักเป็นข้อมูลสุขภาพเบื้องต้นที่สำคัญในการบ่งบอกถึงสุขภาพของผู้รับการตรวจ นอกจากนั้นการตรวจวัดเป็นประจำทำให้สามารถคาดการณ์สภาวะการเกิดโรคของผู้รับการตรวจวัดซึ่งเป็นทางเลือกหนึ่งที่จะทำให้เกิดความตระหนักแก่ประชาชนผู้รับการตรวจข้อมูลดังกล่าวเบื้องต้น ผลการตรวจที่ถูกเก็บในระบบคลาวน์ทำให้ทั้งตัวผู้ตรวจวัดเองทราบและตระหนักถึงภาวะสุขภาพตนเองในปัจจุบันและอดีตตั้งแต่เริ่มทำการตรวจวัด ขณะเดียวกันหน่วยงานภาครัฐที่มีหน้าที่กำกับและกำหนดนโยบายสาธารณะสุขสามารถเข้าถึงภาพรวมของสุขภาพของประชาชนเพื่อใช้ในการกำหนดนโยบายต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี สามารถวัดความดันโลหิตชนิดสอดแขนแบบอัตโนมัติในขณะที่ผู้ใช้งานอยู่ในท่านั่ง สามารถวัดอัตราการเต้นของหัวใจได้ สามารถชั่งน้ำหนักของผู้ใช้งานได้ มีช่องเสียบบัตรประชาชนแบบสมาร์ทการ์ดเพื่อใช้ระบุตัวตน และบันทึกข้อมูลสุขภาพ แสดงผลค่าที่ความดัน น้ำหนัก และอัตราการเต้นของหัวใจ เมื่อวัดเสร็จที่หน้าจอแสดงผล มีระบบแนะนำการใช้งานเป็นขั้นตอนด้วยภาพและเสียงภาษาไทย สแกน QR CODE เพื่ออ่านข้อมูลการวัดของตนเองไปยังสมาร์ทโฟนของผู้ใช้งาน การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี วัดน้ำหนักและความดันโลหิตและแสดงผลเป็นระดับความเสี่ยง ให้ค่าดัชนีมวลกาย Body Mass Index และแสดงเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน ข้อมูลถูกเก็บในระบบฐานข้อมูลก้อนเมฆเป็นประวัติการวัดของผู้ใช้งาน ผู้กำหนดนโยบายภาครัฐวิเคราะห์ภาพรวมสุขภาพจากข้อมูลดังกล่าว สถานภาพของผลงาน ลิขสิทธิ์ เลขที่คำขอ ว1.8261 เรื่อง เฟิร์มแวร์สั่งการระบบตรวจวัดสุขภาพอัจฉริยะรุ่นที่ 1 ยื่นคำขอวันที่ 20 กันยายน 2562 กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนทั่วไป สถานพยาบาลส่วนกลางและท้องถิ่น ผู้ให้บริการด้านสาธารณสุขและผู้กำหนดนโยบาย ติดต่อสอบถาม กุลภัทร์ เฉลิมงาม สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี […]

The post เครื่องตรวจวัดสุขภาพเบื้องต้นอัตโนมัติ Health Check Kiosk appeared first on NAC2021.

]]>

เครื่องตรวจวัดสุขภาพเบื้องต้นอัตโนมัติ Health Check Kiosk

เครื่องตรวจวัดสุขภาพเบื้องต้นอัตโนมัติ Health Check Kiosk

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ดร.ชูศักดิ์ ธนวัฒโน และคณะ
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกและเครื่องมือแพทย์ (A-MED)

        ข้อมูลความดันโลหิตและน้ำหนักเป็นข้อมูลสุขภาพเบื้องต้นที่สำคัญในการบ่งบอกถึงสุขภาพของผู้รับการตรวจ นอกจากนั้นการตรวจวัดเป็นประจำทำให้สามารถคาดการณ์สภาวะการเกิดโรคของผู้รับการตรวจวัดซึ่งเป็นทางเลือกหนึ่งที่จะทำให้เกิดความตระหนักแก่ประชาชนผู้รับการตรวจข้อมูลดังกล่าวเบื้องต้น ผลการตรวจที่ถูกเก็บในระบบคลาวน์ทำให้ทั้งตัวผู้ตรวจวัดเองทราบและตระหนักถึงภาวะสุขภาพตนเองในปัจจุบันและอดีตตั้งแต่เริ่มทำการตรวจวัด ขณะเดียวกันหน่วยงานภาครัฐที่มีหน้าที่กำกับและกำหนดนโยบายสาธารณะสุขสามารถเข้าถึงภาพรวมของสุขภาพของประชาชนเพื่อใช้ในการกำหนดนโยบายต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

na08-health-check-kiosk-02

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

  • สามารถวัดความดันโลหิตชนิดสอดแขนแบบอัตโนมัติในขณะที่ผู้ใช้งานอยู่ในท่านั่ง
  • สามารถวัดอัตราการเต้นของหัวใจได้
  • สามารถชั่งน้ำหนักของผู้ใช้งานได้
  • มีช่องเสียบบัตรประชาชนแบบสมาร์ทการ์ดเพื่อใช้ระบุตัวตน และบันทึกข้อมูลสุขภาพ
  • แสดงผลค่าที่ความดัน น้ำหนัก และอัตราการเต้นของหัวใจ เมื่อวัดเสร็จที่หน้าจอแสดงผล
  • มีระบบแนะนำการใช้งานเป็นขั้นตอนด้วยภาพและเสียงภาษาไทย
  • สแกน QR CODE เพื่ออ่านข้อมูลการวัดของตนเองไปยังสมาร์ทโฟนของผู้ใช้งาน

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

  • วัดน้ำหนักและความดันโลหิตและแสดงผลเป็นระดับความเสี่ยง
  • ให้ค่าดัชนีมวลกาย Body Mass Index และแสดงเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน
  • ข้อมูลถูกเก็บในระบบฐานข้อมูลก้อนเมฆเป็นประวัติการวัดของผู้ใช้งาน
  • ผู้กำหนดนโยบายภาครัฐวิเคราะห์ภาพรวมสุขภาพจากข้อมูลดังกล่าว

สถานภาพของผลงาน

        ลิขสิทธิ์ เลขที่คำขอ ว1.8261 เรื่อง เฟิร์มแวร์สั่งการระบบตรวจวัดสุขภาพอัจฉริยะรุ่นที่ 1 ยื่นคำขอวันที่ 20 กันยายน 2562

กลุ่มเป้าหมาย

  • ประชาชนทั่วไป
  • สถานพยาบาลส่วนกลางและท้องถิ่น
  • ผู้ให้บริการด้านสาธารณสุขและผู้กำหนดนโยบาย

ติดต่อสอบถาม

กุลภัทร์ เฉลิมงาม
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post เครื่องตรวจวัดสุขภาพเบื้องต้นอัตโนมัติ Health Check Kiosk appeared first on NAC2021.

]]>
“มิวเทอร์ม-เฟสเซนซ์” (μTherm-FaceSense) เครื่องวัดอุณหภูมิอัจฉริยะ http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/14/na20-utherm-facesense/ Sun, 14 Mar 2021 16:37:31 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=14179 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ทีมวิจัยเทคโนโลยีโฟโทนิกส์ (PHT) กลุ่มวิจัยอุปกรณ์สเปกโทรสโกปีและเซนเซอร์ (SSDRG) และทีมวิจัยความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ (SEC) กลุ่มวิจัยการสื่อสารและเครือข่าย (CNWRG) ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) การตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายเป็นวิธีคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นที่สามารถบ่งชี้อาการของโรคต่าง ๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็น โรคไข้หวัดใหญ่ โรคทางเดินหายใจรุนแรงเฉียบพลัน โรคไข้สมองอักเสบ โรคมาลาเรีย โรคไข้เลือดออก รวมถึงการติดเชื้อ COVID – 19 ที่ทำให้เกิดจุดคัดกรองอุณหภูมิมากมายในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม ข้อจำกัดของอุปกรณ์ตรวจวัดอุณหภูมิส่วนใหญ่ คือ ไม่สามารถตรวจวัดครั้งละหลายคนพร้อมกันได้ รวมถึงไม่สามารถรักษาระยะห่างระหว่างเจ้าหน้าที่กับผู้รับการตรวจคัดกรองได้มากนัก ทำให้เกิดความเสี่ยงในการแพร่กระจายของโรค ในทางกลับกันเครื่องวัดอุณหภูมิที่สามารถทลายข้อจำกัดดังกล่าวก็มีราคาสูงด้วยเป็นอุปกรณ์ที่ต้องนำเข้าจากต่างประเทศ “มิวเทอร์ม-เฟสเซนซ์” (µTherm-FaceSense) เครื่องวัดอุณหภูมิอัจฉริยะโดดเด่นด้วยเทคโนโลยีกล้องอินฟราเรดผนวกระบบตรวจจับใบหน้าบุคคลอัตโนมัติ (Face detection) โดยไม่มีข้อจำกัดแม้สวมหน้ากากอนามัย มีระบบประมวลผลที่รวดเร็วแม่นยำภายใน 0.1 วินาที สามารถตรวจวัดอุณหภูมิได้ครั้งละหลายคนพร้อมกันในระยะห่างสูงสุด 1.5 เมตร จึงช่วยลดระยะเวลารวมถึงลดความเสี่ยงจากความใกล้ชิดของเจ้าหน้าที่และผู้รับการตรวจคัดกรอง พร้อมรองรับการเชื่อมต่อและจัดเก็บข้อมูลผ่านเครือข่ายการสื่อสารหลากหลาย “มิวเทอร์ม-เฟสเซนซ์” ได้รับการพัฒนาให้มีขนาดกะทัดรัด น้ำหนักเบา รูปทรงทันสมัย ในราคาที่สนับสนุนให้ผู้ผลิตไทยเข้าถึงได้ หวังลดการพึ่งพาเทคโนโลยีต่างประเทศ โดยสามารถติดตั้งใช้งานได้หลากหลาย […]

The post “มิวเทอร์ม-เฟสเซนซ์” (μTherm-FaceSense) เครื่องวัดอุณหภูมิอัจฉริยะ appeared first on NAC2021.

]]>

“มิวเทอร์ม-เฟสเซนซ์” (μTherm-FaceSense) เครื่องวัดอุณหภูมิอัจฉริยะ

“มิวเทอร์ม-เฟสเซนซ์” (μTherm-FaceSense) เครื่องวัดอุณหภูมิอัจฉริยะ

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ทีมวิจัยเทคโนโลยีโฟโทนิกส์ (PHT) กลุ่มวิจัยอุปกรณ์สเปกโทรสโกปีและเซนเซอร์ (SSDRG)
และทีมวิจัยความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ (SEC) กลุ่มวิจัยการสื่อสารและเครือข่าย (CNWRG)
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)

        การตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายเป็นวิธีคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นที่สามารถบ่งชี้อาการของโรคต่าง ๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็น โรคไข้หวัดใหญ่ โรคทางเดินหายใจรุนแรงเฉียบพลัน โรคไข้สมองอักเสบ โรคมาลาเรีย โรคไข้เลือดออก รวมถึงการติดเชื้อ COVID – 19 ที่ทำให้เกิดจุดคัดกรองอุณหภูมิมากมายในปัจจุบัน

        อย่างไรก็ตาม ข้อจำกัดของอุปกรณ์ตรวจวัดอุณหภูมิส่วนใหญ่ คือ ไม่สามารถตรวจวัดครั้งละหลายคนพร้อมกันได้ รวมถึงไม่สามารถรักษาระยะห่างระหว่างเจ้าหน้าที่กับผู้รับการตรวจคัดกรองได้มากนัก ทำให้เกิดความเสี่ยงในการแพร่กระจายของโรค ในทางกลับกันเครื่องวัดอุณหภูมิที่สามารถทลายข้อจำกัดดังกล่าวก็มีราคาสูงด้วยเป็นอุปกรณ์ที่ต้องนำเข้าจากต่างประเทศ

        “มิวเทอร์ม-เฟสเซนซ์” (µTherm-FaceSense) เครื่องวัดอุณหภูมิอัจฉริยะโดดเด่นด้วยเทคโนโลยีกล้องอินฟราเรดผนวกระบบตรวจจับใบหน้าบุคคลอัตโนมัติ (Face detection) โดยไม่มีข้อจำกัดแม้สวมหน้ากากอนามัย มีระบบประมวลผลที่รวดเร็วแม่นยำภายใน 0.1 วินาที สามารถตรวจวัดอุณหภูมิได้ครั้งละหลายคนพร้อมกันในระยะห่างสูงสุด 1.5 เมตร จึงช่วยลดระยะเวลารวมถึงลดความเสี่ยงจากความใกล้ชิดของเจ้าหน้าที่และผู้รับการตรวจคัดกรอง พร้อมรองรับการเชื่อมต่อและจัดเก็บข้อมูลผ่านเครือข่ายการสื่อสารหลากหลาย

        “มิวเทอร์ม-เฟสเซนซ์” ได้รับการพัฒนาให้มีขนาดกะทัดรัด น้ำหนักเบา รูปทรงทันสมัย ในราคาที่สนับสนุนให้ผู้ผลิตไทยเข้าถึงได้ หวังลดการพึ่งพาเทคโนโลยีต่างประเทศ โดยสามารถติดตั้งใช้งานได้หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น โรงพยาบาล โรงเรียน เรือนจำ สถานีขนส่งสาธารณะ สถานีรถไฟฟ้า MRT / BTS ห้างสรรพสินค้า ไปจนถึงงานสัมมนา มหกรรมต่าง ๆ เป็นต้น

ความโดดเด่น

  • ตรวจจับใบหน้าและวัดค่าอุณหภูมิถูกต้อง แม่นยำ ภายใน 0.1 วินาที
  • ตรวจวัดอุณหภูมิครั้งละหลายบุคคลพร้อมกัน ในระยะห่างสูงสุด 1.5 เมตร
  • ตรวจจับใบหน้าบุคคลอัตโนมัติ (Face detection) แม้สวมหน้ากากอนามัย
  • กำหนดค่าอุณหภูมิเฝ้าระวัง และ ค่าชดเชยสภาพแวดล้อมได้
  • รองรับการเชื่อมต่อและจัดเก็บข้อมูลผ่านเครือข่าย Wi-Fi รวมถึงสาย LAN
  • รองรับการเชื่อมต่ออุปกรณ์แสดงผลผ่าน HDMI

ข้อมูลทางเทคนิค

  • Full 160×120-pixel thermal image resolution
  • Full HD visible image resolution
  • Face detection embedded with LiDAR Technology
  • Low cost & Light weight (1.7 kg)
  • Compactness (8.5×22.8×19.5 cm3)

มาตรฐานเทคโนโลยี

  • มาตรฐานการทดสอบความปลอดภัย [Information technology equipment (IEC60950-1)]
    (Information technology equipment – Safety – Part 1: General requirements)
  • มาตรฐานการทดสอบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า CISPR 22 (EMC Standard)
    (the information for information technology equipment, ITE for the radio disturbance characteristics for electromagnetic compatibility compliance)
  • มาตรฐานการทดสอบเทียบอุณหภูมิ (อยู่ระหว่างการทดสอบ)

ประโยชน์ของเทคโนโลยี

  • เฝ้าระวังและลดความเสี่ยงการสูญเสียจากผลกระทบที่เกี่ยวข้องกับภาวะอุณหภูมิของร่างกายที่ผิดปกติและการระบาดของโรคร้ายแรง
  • ใช้เป็นฐานข้อมูลอ้างอิงเพื่อออกประกาศการป้องกันและการดูแลเบื้องต้นเกี่ยวกับภาวะหรือโรคที่เกิดจากการเสียสมดุลของอุณหภูมิร่างกาย รวมถึงทำนายอุบัติการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
  • สร้างโอกาสในการเกิดธุรกิจใหม่ทั้งในฐานะผู้ผลิตและผู้ให้บริการ
  • สร้างจุดเด่นให้กับสถานที่ที่ใช้งานระบบเพื่อการเอาใจใส่ดูแลและป้องกันสุขภาพ
  • ลดการพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างประเทศ

กลุ่มลูกค้า / ผู้ใช้งานเทคโนโลยีเป้าหมาย

  • สถานที่ของภาครัฐที่มีผู้คนพลุกพล่านและต้องการลดโอกาสการแพร่กระจายของโรคด้วยการคัดกรองอุณหภูมิร่างกาย เช่น โรงเรียน โรงพยาบาล ทัณฑสถาน สถานีขนส่งสาธารณะ สถานีรถไฟฟ้า MRT / BTS เป็นต้น
  • ภาคเอกชนที่ต้องการเพิ่มบริการการป้องกันและดูแลเอาใจใส่ในสุขภาพลูกค้า เช่น ห้างสรรพสินค้า สถานที่ท่องเที่ยว สถานที่จัดแสดงมหกรรมสินค้า โรงภาพยนตร์ เป็นต้น
  • ภาคเอกชนที่มีความต้องการและมีศักยภาพในการผลิตอุปกรณ์เชิงพาณิชย์

วิจัยและพัฒนาโดย

ทีมวิจัยเทคโนโลยีโฟโทนิกส์ (PHT) กลุ่มวิจัยอุปกรณ์สเปกโทรสโกปีและเซนเซอร์ (SSDRG)
และทีมวิจัยความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ (SEC) กลุ่มวิจัยการสื่อสารและเครือข่าย (CNWRG)
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค-สวทช.)

μTherm-FaceSense : มิวเทอร์ม-เฟสเซนซ์ เครื่องวัดอุณหภูมิอัจฉริยะ

ติดต่อสอบถาม

ฝ่ายกลยุทธ์วิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยี เนคเทค-สวทช.

ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ:

The post “มิวเทอร์ม-เฟสเซนซ์” (μTherm-FaceSense) เครื่องวัดอุณหภูมิอัจฉริยะ appeared first on NAC2021.

]]>
กระบวนการผลิตเข็มขนาดไมโครเมตร ด้วยเทคนิคการหักเหแสงในพอลิเมอร์ไวแสงและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/14/na12-microneedle/ Sun, 14 Mar 2021 15:40:18 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=14139 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ทีมวิจัยเข็มระดับนาโน (NND) กลุ่มวิจัยวัสดุตอบสนองและเซ็นเซอร์ระดับนาโน (RMNS) ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC) เข็มขนาดไมโครเมตรได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อลดอาการเจ็บปวดจากการใช้เข็มธรรมดาทั่วไป เข็มขนาดไมโครเมตรนี้จะเจาะผ่านผิวหนังชั้นนอก ไม่ลึกลงไปถึงเส้นเลือดและเส้นประสาทจึงส่งผลให้ไม่รู้สึกเจ็บปวด เมื่อเทียบกับเข็มธรรมดาทั่วไปที่เจาะลงไปลึกถึงเส้นประสาท นอกจากนั้นเข็มขนาดไมโครเมตรยังถูกใช้ในการฟื้นฟูสภาพผิว ลดรอยเหี่ยวย่น รอยแผลเป็น โดยสมบัติการซ่อมแซมตัวเองของผิวหนัง เมื่อถูกเข็มขนาดไมโครเมตรปักลงไปในผิวชั้นนอก จากประโยชน์ดังกล่าว เข็มขนาดไมโครเมตรจึงได้รับความนิยมในทางการแพทย์และความงามมากขึ้น คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี สามารถสร้างเข็มขนาดไมโครเมตรได้หลายพื้นผิว รวมถึงผ้าและพื้นผิวอ่อนนิ่ม ปลายเข็มเล็กมาก (~5 μm) เมื่อเทียบกับในท้องตลาดทั่วไป ปรับเปลี่ยนจำนวนเข็มต่อพื้นที่ได้มากถึง 1,200 needle/cm2 มีรูปแบบเข็มที่หลากหลาย การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี นำส่งเวชสำอาง นำส่งยา วัคซีน เก็บตัวอย่าง DNA และของเหลวใต้ผิวหนัง สถานภาพของผลงาน คำขอสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 2001004302 เรื่อง กระบวนการผลิตเข็มขนาดไมโครเมตรด้วยเทคนิคการหักเหแสงในพอลิเมอร์ไวแสงและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว ยื่นคำขอวันที่ 31/07/2563 กลุ่มเป้าหมาย ผู้ประกอบการเครื่องมือแพทย์ ผู้ประกอบการเครื่องสำอาง เวชสำอาง ความงาม ผู้ประกอบการด้านยาและวัคซีน ติดต่อสอบถาม จิรนันท์ บุบผามาลา […]

The post กระบวนการผลิตเข็มขนาดไมโครเมตร ด้วยเทคนิคการหักเหแสงในพอลิเมอร์ไวแสง<br>และผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว appeared first on NAC2021.

]]>

กระบวนการผลิตเข็มขนาดไมโครเมตร ด้วยเทคนิคการหักเหแสงในพอลิเมอร์ไวแสง
และผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว

กระบวนการผลิตเข็มขนาดไมโครเมตร ด้วยเทคนิคการหักเหแสงในพอลิเมอร์ไวแสง
และผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ทีมวิจัยเข็มระดับนาโน (NND)
กลุ่มวิจัยวัสดุตอบสนองและเซ็นเซอร์ระดับนาโน (RMNS)
ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC)

        เข็มขนาดไมโครเมตรได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อลดอาการเจ็บปวดจากการใช้เข็มธรรมดาทั่วไป เข็มขนาดไมโครเมตรนี้จะเจาะผ่านผิวหนังชั้นนอก ไม่ลึกลงไปถึงเส้นเลือดและเส้นประสาทจึงส่งผลให้ไม่รู้สึกเจ็บปวด เมื่อเทียบกับเข็มธรรมดาทั่วไปที่เจาะลงไปลึกถึงเส้นประสาท นอกจากนั้นเข็มขนาดไมโครเมตรยังถูกใช้ในการฟื้นฟูสภาพผิว ลดรอยเหี่ยวย่น รอยแผลเป็น โดยสมบัติการซ่อมแซมตัวเองของผิวหนัง เมื่อถูกเข็มขนาดไมโครเมตรปักลงไปในผิวชั้นนอก จากประโยชน์ดังกล่าว เข็มขนาดไมโครเมตรจึงได้รับความนิยมในทางการแพทย์และความงามมากขึ้น

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

  • สามารถสร้างเข็มขนาดไมโครเมตรได้หลายพื้นผิว รวมถึงผ้าและพื้นผิวอ่อนนิ่ม
  • ปลายเข็มเล็กมาก (~5 μm) เมื่อเทียบกับในท้องตลาดทั่วไป
  • ปรับเปลี่ยนจำนวนเข็มต่อพื้นที่ได้มากถึง 1,200 needle/cm2
  • มีรูปแบบเข็มที่หลากหลาย

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

  • นำส่งเวชสำอาง
  • นำส่งยา วัคซีน
  • เก็บตัวอย่าง DNA และของเหลวใต้ผิวหนัง

สถานภาพของผลงาน

        คำขอสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 2001004302 เรื่อง กระบวนการผลิตเข็มขนาดไมโครเมตรด้วยเทคนิคการหักเหแสงในพอลิเมอร์ไวแสงและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว ยื่นคำขอวันที่ 31/07/2563

กลุ่มเป้าหมาย

  • ผู้ประกอบการเครื่องมือแพทย์
  • ผู้ประกอบการเครื่องสำอาง เวชสำอาง ความงาม
  • ผู้ประกอบการด้านยาและวัคซีน

ติดต่อสอบถาม

จิรนันท์ บุบผามาลา
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post กระบวนการผลิตเข็มขนาดไมโครเมตร ด้วยเทคนิคการหักเหแสงในพอลิเมอร์ไวแสง<br>และผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว appeared first on NAC2021.

]]>
ต้นแบบเครนเหนือศีรษะอัตโนมัติ: การปรับปรุงความแม่นยำและเที่ยงตรงของการควบคุม http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/14/na13-automatic-overhead-crane/ Sun, 14 Mar 2021 05:20:49 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=13730 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ผศ.ดร.อิทธิโชค จักรไพวงศ์ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล         งานวิจัยนี้มีเป้าหมายเพื่อการพัฒนาต้นแบบเครนเหนือศีรษะอัตโนมัติ ที่แก้ปัญหาการใช้งานในเครนทั่วไป และรองรับการพัฒนาเพิ่มเติมในอนาคต ระบบเครนที่พัฒนาจะสามารถเคลื่อนที่ได้อย่างแม่นยำ ไปตามตำแหน่งที่ผู้ใช้ต้องการได้โดยอัตโนมัติ และกำจัดการแกว่งของเครนซึ่งเป็นปัญหาโดยธรรมชาติของเครนประเภทนี้ ตลอดจนการบันทึกข้อมูลการใช้งานเพื่อประโยชน์ในการให้บริการซ่อมบำรุง รูปที่ 1 แสดงอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างต้นแบบเครนอัตโนมัติถูกเลือกเป็นอุปกรณ์ระดับอุตสาหกรรมที่สามารถรองรับการโปรแกรมระบบควบคุมที่ซับซ้อนได้ หน้าจอสัมผัสถูกออกแบบให้ทำงานร่วมกับเครนอัตโนมัติได้โดยสะดวก โดยผู้ใช้ไม่ต้องเขียนโปรแกรมใด ๆ จุดเด่นของงานวิจัย/เทคโนโลยี         จากการพัฒนาต้นแบบเครนพบว่า เครนสามารถเคลื่อนที่ไปยังตำแหน่งที่ต้องการได้โดยอัตโนมัติ วิธีการควบคุมเชิงเส้นแบบป้อนกลับ PD Controller ร่วมกับการประมาณตำแหน่งเครนโดยใช้ Extended State Observer สามารถควบคุมตำแหน่งของเครนได้โดยมีค่าความผิดพลาดไม่เกิน 10 มิลลิเมตร การเคลื่อนที่ของเครนแบบปกตินั้นจะทำให้เกิดการแกว่งขึ้นเป็นมุมประมาณ 5 องศา ในงานวิจัยนี้ การกำจัดการแกว่งของวัตถุในขณะเคลื่อนที่โดยการใช้ตัวกรองสัญญาณ (Filter) ที่ได้ถูกพัฒนาขึ้นสามารถลดการแกว่งของวัตถุลงได้เหลือไม่เกิน 1 องศา ดังแสดงในรูปที่ 2 รูปที่ 2 เปรียบเทียบการแกว่งระหว่างใช้และไม่ใช้ตัวกรองสัญญาณ […]

The post ต้นแบบเครนเหนือศีรษะอัตโนมัติ: การปรับปรุงความแม่นยำและเที่ยงตรงของการควบคุม appeared first on NAC2021.

]]>

ต้นแบบเครนเหนือศีรษะอัตโนมัติ: การปรับปรุงความแม่นยำและเที่ยงตรงของการควบคุม

ต้นแบบเครนเหนือศีรษะอัตโนมัติ: การปรับปรุงความแม่นยำและเที่ยงตรงของการควบคุม

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ผศ.ดร.อิทธิโชค จักรไพวงศ์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

        งานวิจัยนี้มีเป้าหมายเพื่อการพัฒนาต้นแบบเครนเหนือศีรษะอัตโนมัติ ที่แก้ปัญหาการใช้งานในเครนทั่วไป และรองรับการพัฒนาเพิ่มเติมในอนาคต ระบบเครนที่พัฒนาจะสามารถเคลื่อนที่ได้อย่างแม่นยำ ไปตามตำแหน่งที่ผู้ใช้ต้องการได้โดยอัตโนมัติ และกำจัดการแกว่งของเครนซึ่งเป็นปัญหาโดยธรรมชาติของเครนประเภทนี้ ตลอดจนการบันทึกข้อมูลการใช้งานเพื่อประโยชน์ในการให้บริการซ่อมบำรุง

รูปที่ 1 แสดงอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างต้นแบบเครนอัตโนมัติถูกเลือกเป็นอุปกรณ์ระดับอุตสาหกรรมที่สามารถรองรับการโปรแกรมระบบควบคุมที่ซับซ้อนได้ หน้าจอสัมผัสถูกออกแบบให้ทำงานร่วมกับเครนอัตโนมัติได้โดยสะดวก โดยผู้ใช้ไม่ต้องเขียนโปรแกรมใด ๆ

จุดเด่นของงานวิจัย/เทคโนโลยี

        จากการพัฒนาต้นแบบเครนพบว่า เครนสามารถเคลื่อนที่ไปยังตำแหน่งที่ต้องการได้โดยอัตโนมัติ วิธีการควบคุมเชิงเส้นแบบป้อนกลับ PD Controller ร่วมกับการประมาณตำแหน่งเครนโดยใช้ Extended State Observer สามารถควบคุมตำแหน่งของเครนได้โดยมีค่าความผิดพลาดไม่เกิน 10 มิลลิเมตร การเคลื่อนที่ของเครนแบบปกตินั้นจะทำให้เกิดการแกว่งขึ้นเป็นมุมประมาณ 5 องศา ในงานวิจัยนี้ การกำจัดการแกว่งของวัตถุในขณะเคลื่อนที่โดยการใช้ตัวกรองสัญญาณ (Filter) ที่ได้ถูกพัฒนาขึ้นสามารถลดการแกว่งของวัตถุลงได้เหลือไม่เกิน 1 องศา ดังแสดงในรูปที่ 2

automatic-overhead-crane-01

รูปที่ 2 เปรียบเทียบการแกว่งระหว่างใช้และไม่ใช้ตัวกรองสัญญาณ

        นอกจากนั้นการกำจัดการแกว่งจากตัวกรองสัญญาณถูกนำมาศึกษาเปรียบเทียบการทำงานของเมื่อผู้ต้องบังคับเครนในที่แคบ เมื่อใช้และไม่ใช้ระบบกำจัดการแกว่ง ผลปรากฏว่าในการบังคับเครนเหนือศีรษะในพื้นที่แคบ ผู้บังคับเครนในโหมดไม่มีระบบกำจัดการแกว่งนั้น ไม่สามารถบังคับเครนให้ไปถึงจุดหมายได้โดยที่ไม่เกิดการชน เกิดการชน 11 ครั้ง ส่วนในโหมดที่มีตัวกรองสัญญาณนั้นสามารถบังคับเครนให้ไปถึงจุดหมายได้โดยไม่เกิดการชนเลย โดยที่ทั้ง 2 แบบใช้เวลาเท่ากับ 50 และ 37 วินาที ตามลำดับ ดังแสดงในรูปที่ 3

automatic-overhead-crane-02

รูปที่ 3 เปรียบเทียบการใช้งานตัวกรองสัญญาณ

        การพัฒนาส่วนการใช้งานของผู้ใช้เป็นไปตามเป้าหมาย มีอุปกรณ์หลักคือหน้าจอสัมผัสซึ่งรองรับการควบคุมเครนอัตโนมัติได้ มี 4 โหมดการทำงาน คือ โหมดควบคุมด้วยมือ โหมดบันทึกเส้นทาง โหมดเคลื่อนที่อัตโนมัติ และโหมดตรวจสอบการทำงาน เครนสามารถจดจำตำแหน่งในพื้นที่การทำงานได้ 8 จุด แต่ละจุดสามารถกำหนดเวลาหยุดรอได้ และสามารถคำนวณเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่โดยประมาณของแต่ละจุด นอกจากนี้ ฟังก์ชันการวัดน้ำหนักแบบไร้เซนเซอร์ ได้ถูกพัฒนาขึ้นโดยการแปลงค่ากำลังไฟฟ้าของที่มอเตอร์ใช้ขณะนั้นจากอินเวอร์เตอร์ แล้วแปลงเป็นน้ำหนักมาแสดงบนจอสัมผัส รูปแบบการเก็บข้อมูลได้รับการพัฒนาขึ้น ผลการทดสอบการอ่านค่าน้ำหนักบรรทุกแสดงว่าวิธีการนี้สามารถอ่านค่าได้ใกล้เคียงกับจริง ดังแสดงในรูปที่ 4 ข้อมูลการใช้งานจะถูกบันทึกไว้ในหน่วยความจำสำรองที่ติดตั้งไว้บนหน้าจอสัมผัสตลอดเวลา รูปที่ 5 แสดงตัวอย่างภาพหน้าจอผู้ใช้งานในโหมดต่าง ๆ

automatic-overhead-crane-03

รูปที่ 4 กราฟเปรียบเทียบน้ำหนักจริงและน้ำหนักที่วัดได้ของมวลที่ใช้ทดสอบโดยใช้ฟังก์ชันวัดน้ำหนักของเครน (หน่วย กิโลกรัม)

รูปที่ 5 ตัวอย่างหน้าจอผู้ใช้งาน

ติดต่อสอบถาม

นางสาวสุจิรา ศักดิ์พรหม
สังกัด งานบริหารโครงการความร่วมมือภาครัฐและเอกชน
สายงานบริหารการวิจัยและพัฒนา (RDI Management)

ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ:

The post ต้นแบบเครนเหนือศีรษะอัตโนมัติ: การปรับปรุงความแม่นยำและเที่ยงตรงของการควบคุม appeared first on NAC2021.

]]>
วัสดุนำส่งยาปฏิชีวนะ สำหรับการรักษาการอักเสบติดเชื้อของกระดูก http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/13/na07-antibiotic-delivery-material-bone/ Sat, 13 Mar 2021 06:39:53 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=13648 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ดร.จินตมัย สุวรรณประทีป และคณะ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC) การอักเสบและติดเชื้อของกระดูก อาจนำไปสู่การสูญเสียอวัยวะหรือแม้แต่การเสียชีวิตได้หากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที การใช้การผ่าตัดและการให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดเป็นแนวทางการรักษาทั่วไป ในปัจจุบันมีการใช้วัสดุนำส่งยาที่เป็นเม็ดกลมที่ร้อยเป็นสายได้ นำไปวางในบริเวณแผลเพื่อให้วัสดุปลดปล่อยยาปฏิชีวนะฆ่าเชื้อแบคทีเรียในบริเวณบาดแผล แต่ต้องนำวัสดุดังกล่าวออกจากร่างกายในภายหลัง  โดยแนวคิดหลักคือการพัฒนาวัสดุนำส่งยาปฏิชีวนะสำหรับการรักษาการอักเสบและติดเชื้อของกระดูกโดยไม่ต้องนำวัสดุดังกล่าวออกจากร่างกายผู้ป่วยภายหลังการใช้งาน คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี สามารถปลดปล่อยยาปฏิชีวนะปริมาณสูงเพื่อรักษาอาการอักเสบติดเชื้อของกระดูกอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้งานได้โดยไม่ต้องนำวัสดุนำส่งยาออกจากร่างกายผู้ป่วย การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ทำหน้าที่เป็นกระดูกเทียมได้พร้อมกัน ใส่ยาปฏิชีวนะได้หลายประเภท สถานภาพของผลงาน คำขอรับสิทธิบัตรเลขที่ 0801004126 เรื่องกรรมวิธีการผลิตแคลเซียมฟอสเฟตสาหรับใช้งานทางการแพทย์โดยการเปลี่ยนเฟสของสารประกอบของแคลเซียมที่อุณหภูมิต่ำ กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มบริษัทเอกชนผู้สนใจผลิตผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อสุขภาพ  / บริษัทยา กลุ่มองค์กรหรือหน่วยงานภาครัฐ ติดต่อสอบถาม ขนิษฐา สิริจามร สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทรศัพท์: 0 2564 7000 ต่อ 1618 E-mail: tlo-ipb@nstda.or.th เว็บไซต์: www.nstda.or.th

The post วัสดุนำส่งยาปฏิชีวนะ สำหรับการรักษาการอักเสบติดเชื้อของกระดูก appeared first on NAC2021.

]]>

วัสดุนำส่งยาปฏิชีวนะ สำหรับการรักษาการอักเสบติดเชื้อของกระดูก

วัสดุนำส่งยาปฏิชีวนะ สำหรับการรักษาการอักเสบติดเชื้อของกระดูก

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ดร.จินตมัย สุวรรณประทีป และคณะ
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC)

        การอักเสบและติดเชื้อของกระดูก อาจนำไปสู่การสูญเสียอวัยวะหรือแม้แต่การเสียชีวิตได้หากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที การใช้การผ่าตัดและการให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดเป็นแนวทางการรักษาทั่วไป ในปัจจุบันมีการใช้วัสดุนำส่งยาที่เป็นเม็ดกลมที่ร้อยเป็นสายได้ นำไปวางในบริเวณแผลเพื่อให้วัสดุปลดปล่อยยาปฏิชีวนะฆ่าเชื้อแบคทีเรียในบริเวณบาดแผล แต่ต้องนำวัสดุดังกล่าวออกจากร่างกายในภายหลัง  โดยแนวคิดหลักคือการพัฒนาวัสดุนำส่งยาปฏิชีวนะสำหรับการรักษาการอักเสบและติดเชื้อของกระดูกโดยไม่ต้องนำวัสดุดังกล่าวออกจากร่างกายผู้ป่วยภายหลังการใช้งาน

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

  • สามารถปลดปล่อยยาปฏิชีวนะปริมาณสูงเพื่อรักษาอาการอักเสบติดเชื้อของกระดูกอย่างมีประสิทธิภาพ
  • ใช้งานได้โดยไม่ต้องนำวัสดุนำส่งยาออกจากร่างกายผู้ป่วย

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

  • ทำหน้าที่เป็นกระดูกเทียมได้พร้อมกัน
  • ใส่ยาปฏิชีวนะได้หลายประเภท

สถานภาพของผลงาน

        คำขอรับสิทธิบัตรเลขที่ 0801004126
        เรื่องกรรมวิธีการผลิตแคลเซียมฟอสเฟตสาหรับใช้งานทางการแพทย์โดยการเปลี่ยนเฟสของสารประกอบของแคลเซียมที่อุณหภูมิต่ำ

กลุ่มเป้าหมาย

  • กลุ่มบริษัทเอกชนผู้สนใจผลิตผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อสุขภาพ  / บริษัทยา
  • กลุ่มองค์กรหรือหน่วยงานภาครัฐ

ติดต่อสอบถาม

ขนิษฐา สิริจามร
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post วัสดุนำส่งยาปฏิชีวนะ สำหรับการรักษาการอักเสบติดเชื้อของกระดูก appeared first on NAC2021.

]]>
ฟิล์มคลุมโรงเรือนที่มีสมบัติลดการส่องผ่านของรังสียูวี สะท้อนรังสีความร้อน และมีการกระจายแสงที่ดี http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/13/na06-multitech-ultra/ Sat, 13 Mar 2021 06:06:41 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=13613 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ดร.อทิตย์สา เพ็ชรสุข และ ดร.ดวงพร ศิริกิตติกุล ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC) ปัจจุบันฟิล์มคลุมโรงเรือนส่วนใหญ่ที่ผลิตและจำหน่ายในประเทศไทยยังไม่สามารถครอบคลุมความต้องการของเกษตรกรได้ครบถ้วน เพราะพืชแต่ละชนิดมีความต้องการเทคโนโลยีที่แตกต่างกัน อย่างไรก็ตาม ลักษณะของฟิล์มคลุมโรงเรือนที่ดี คือ ฟิล์มที่มีคุณสมบัติกรองรังสี UV ป้องกันรังสีความร้อน กระจายแสงดี และมีอายุการใช้งานที่เหมาะสม ในราคาต้นทุนที่เกษตรกรยอมรับได้ ซึ่งจะช่วยให้พืชเจริญเติบโตได้ดี เพิ่มผลผลิตต่อไร่ และผลิตผลมีคุณภาพสูง ทำให้เกษตรกรสามารถจำหน่ายผลิตผลในราคาที่สูงขึ้นได้ อย่างไรก็ตามฟิล์มคลุมโรงเรือนทางการค้ามักมีสมบัติเพียงอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น ดังนั้นนักวิจัยของ MTEC จึงได้วิจัยและพัฒนาฟิล์มคลุมโรงเรือนที่มีสมบัติหลายอย่างในฟิล์มเดียว เช่น ฟิล์ม MultiTech มีสมบัติลดการส่องผ่านของรังสียูวี และกระจายแสงดี ฟิล์ม MultiTech-Ultra มีสมบัติลดการส่องผ่านของรังสียูวี สะท้อนรังสีความร้อน และกระจายแสงดี เพื่อเป็นทางเลือกให้กับเกษตรกรในการเลือกใช้งานให้เหมาะสมกับการเพาะปลูก คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี ลดการส่องผ่านรังสีช่วงยูวี (Ultraviolet; UV) สะท้อนรังสีความร้อนช่วงอินฟราเรดใกล้ (Near Infrared Radiation; NIR) กระจายแสงได้ดี พืชได้รับแสงทั่วถึง ให้รังสีช่วงที่พืชใช้ในการสังเคราะห์แสง (Photosynthetically Active Radiation; […]

The post ฟิล์มคลุมโรงเรือนที่มีสมบัติลดการส่องผ่านของรังสียูวี สะท้อนรังสีความร้อน <br>และมีการกระจายแสงที่ดี appeared first on NAC2021.

]]>

ฟิล์มคลุมโรงเรือนที่มีสมบัติลดการส่องผ่านของรังสียูวี สะท้อนรังสีความร้อน
และมีการกระจายแสงที่ดี

ฟิล์มคลุมโรงเรือนที่มีสมบัติลดการส่องผ่านของรังสียูวี สะท้อนรังสีความร้อน
และมีการกระจายแสงที่ดี

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ดร.อทิตย์สา เพ็ชรสุข
และ ดร.ดวงพร ศิริกิตติกุล
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC)

       ปัจจุบันฟิล์มคลุมโรงเรือนส่วนใหญ่ที่ผลิตและจำหน่ายในประเทศไทยยังไม่สามารถครอบคลุมความต้องการของเกษตรกรได้ครบถ้วน เพราะพืชแต่ละชนิดมีความต้องการเทคโนโลยีที่แตกต่างกัน อย่างไรก็ตาม ลักษณะของฟิล์มคลุมโรงเรือนที่ดี คือ ฟิล์มที่มีคุณสมบัติกรองรังสี UV ป้องกันรังสีความร้อน กระจายแสงดี และมีอายุการใช้งานที่เหมาะสม ในราคาต้นทุนที่เกษตรกรยอมรับได้ ซึ่งจะช่วยให้พืชเจริญเติบโตได้ดี เพิ่มผลผลิตต่อไร่ และผลิตผลมีคุณภาพสูง ทำให้เกษตรกรสามารถจำหน่ายผลิตผลในราคาที่สูงขึ้นได้ อย่างไรก็ตามฟิล์มคลุมโรงเรือนทางการค้ามักมีสมบัติเพียงอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น ดังนั้นนักวิจัยของ MTEC จึงได้วิจัยและพัฒนาฟิล์มคลุมโรงเรือนที่มีสมบัติหลายอย่างในฟิล์มเดียว เช่น ฟิล์ม MultiTech มีสมบัติลดการส่องผ่านของรังสียูวี และกระจายแสงดี ฟิล์ม MultiTech-Ultra มีสมบัติลดการส่องผ่านของรังสียูวี สะท้อนรังสีความร้อน และกระจายแสงดี เพื่อเป็นทางเลือกให้กับเกษตรกรในการเลือกใช้งานให้เหมาะสมกับการเพาะปลูก 

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

  1. ลดการส่องผ่านรังสีช่วงยูวี (Ultraviolet; UV)
  2. สะท้อนรังสีความร้อนช่วงอินฟราเรดใกล้ (Near Infrared Radiation; NIR)
  3. กระจายแสงได้ดี พืชได้รับแสงทั่วถึง
  4. ให้รังสีช่วงที่พืชใช้ในการสังเคราะห์แสง (Photosynthetically Active Radiation; PAR) ส่องผ่านได้สูง
  5. แผ่นฟิล์มมีความทนทานและสมบัติเชิงกลที่ดี

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

        พลาสติกสำหรับคลุมโรงเรือน ที่สามารถคัดกรองแสงที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช ช่วยเพิ่มผลผลิต และได้ผลผลิตที่มีคุณภาพดี

สถานภาพของผลงาน

        คำขออนุสิทธิบัตร 1 ฉบับ และความลับทางการค้า 3 เรื่อง

กลุ่มเป้าหมาย

  • กลุ่มอุตสาหกรรมผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อการเกษตร
  • กลุ่มอุตสาหกรรมพลาสติกเพื่อประยุกต์ใช้ทางการเกษตร
  • กลุ่มเกษตรกรแปลงใหญ่, เกษตรกรผู้ผลิตผักผลไม้ปลอดภัย หรือกลุ่มเกษตรอินทรีย์

ติดต่อสอบถาม

ขนิษฐา สิริจามร
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ:

The post ฟิล์มคลุมโรงเรือนที่มีสมบัติลดการส่องผ่านของรังสียูวี สะท้อนรังสีความร้อน <br>และมีการกระจายแสงที่ดี appeared first on NAC2021.

]]>
แผ่นรองในรองเท้าเฉพาะรายจากเครื่องพิมพ์สามมิติในกลุ่มผู้ป่วยเท้าเเบน http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/13/na05_flat-feet-arch-support/ Sat, 13 Mar 2021 05:52:13 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=13590 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ดร.บุญล้อม ถาวรยุติการต์ และคณะ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC) ภาวะเท้าแบน (Flat feet) คือ ลักษณะของเท้าที่ไม่มีส่วนโค้งเว้าตรงกลางเท้า ฝ่าเท้าจะราบแนบไปกับพื้นทั้งหมด โดยตรงกลางฝ่าเท้าที่โค้งขึ้นมา (อุ้งเท้า) (Arch) จะสูญเสียความโค้งของอุ้งเท้าตามธรรมชาติไป ภาวะเท้าแบนเป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับเนื้อเยื่อและกระดูกของฝ่าเท้าและขาส่วนล่าง โดยมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัย เช่น เอ็นข้อเท้าหย่อนยาน ข้อเท้าเสื่อม กระดูกสันหลังกดทับเส้นประสาทขาซึ่งส่งผลให้กล้ามเนื้ออ่อนกำลัง ผู้ป่วยที่มีน้ำหนักตัวเยอะและอายุมาก หรือผู้ป่วยบางคนที่มีความผิดปกติตั้งแต่เกิด หรือกระดูกเท้ายังเจริญไม่เต็มที่เมื่ออยู่ในครรภ์ รวมทั้งได้รับการถ่ายทอดลักษณะดังกล่าวมาทางพันธุกรรม เป็นต้น โดยปกติภาวะเท้าแบนที่เกิดขึ้นในคนส่วนใหญ่ มักไม่ปรากฏสัญญาณหรืออาการใดๆ อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยบางรายอาจรู้สึกเจ็บเท้า โดยเฉพาะบริเวณส้นเท้าหรืออุ้งเท้า อาการเจ็บนั้นจะยิ่งแย่ลงเมื่อต้องทำกิจกรรมต่างๆ รวมทั้งเกิดอาการบวมที่ข้อเท้าด้านในร่วมด้วย ภาวะเท้าแบน (Flat feet) วิธีรักษาภาวะเท้าแบนขึ้นอยู่กับสาเหตุและระดับความรุนแรงของอาการ หนึ่งในวิธีรักษาภาวะเท้าแบนที่แพทย์แนะนำ คือ การใช้กายอุปกรณ์เสริมปรับสภาพเท้า (orthotics/insoles) หรือแผ่นรองในรองเท้าที่มีส่วนซัพพอร์ตอุ้งเท้า (arch support) โดยแผ่นรองในรองเท้าจะบรรเทาอาการเจ็บเท้าและช่วยหนุนเท้า ผู้ป่วยจะสอดแผ่นรองในรองเท้าไว้ในรองเท้า คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี เป็นวัสดุแผ่นรองในรองเท้าที่มีรูปทรงจำเพาะกับผู้ป่วยแต่ละคน เป็นแผ่นรองในรองเท้าที่มีส่วนซัพพอร์ตอุ้งเท้า (arch support) ที่จะบรรเทาอาการเจ็บเท้าและช่วยหนุนเท้า […]

The post แผ่นรองในรองเท้าเฉพาะรายจากเครื่องพิมพ์สามมิติในกลุ่มผู้ป่วยเท้าเเบน appeared first on NAC2021.

]]>

แผ่นรองในรองเท้าเฉพาะรายจากเครื่องพิมพ์สามมิติในกลุ่มผู้ป่วยเท้าเเบน

แผ่นรองในรองเท้าเฉพาะรายจากเครื่องพิมพ์สามมิติในกลุ่มผู้ป่วยเท้าเเบน

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ดร.บุญล้อม ถาวรยุติการต์ และคณะ
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC)

        ภาวะเท้าแบน (Flat feet) คือ ลักษณะของเท้าที่ไม่มีส่วนโค้งเว้าตรงกลางเท้า ฝ่าเท้าจะราบแนบไปกับพื้นทั้งหมด โดยตรงกลางฝ่าเท้าที่โค้งขึ้นมา (อุ้งเท้า) (Arch) จะสูญเสียความโค้งของอุ้งเท้าตามธรรมชาติไป ภาวะเท้าแบนเป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับเนื้อเยื่อและกระดูกของฝ่าเท้าและขาส่วนล่าง โดยมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัย เช่น เอ็นข้อเท้าหย่อนยาน ข้อเท้าเสื่อม กระดูกสันหลังกดทับเส้นประสาทขาซึ่งส่งผลให้กล้ามเนื้ออ่อนกำลัง ผู้ป่วยที่มีน้ำหนักตัวเยอะและอายุมาก หรือผู้ป่วยบางคนที่มีความผิดปกติตั้งแต่เกิด หรือกระดูกเท้ายังเจริญไม่เต็มที่เมื่ออยู่ในครรภ์ รวมทั้งได้รับการถ่ายทอดลักษณะดังกล่าวมาทางพันธุกรรม เป็นต้น โดยปกติภาวะเท้าแบนที่เกิดขึ้นในคนส่วนใหญ่ มักไม่ปรากฏสัญญาณหรืออาการใดๆ อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยบางรายอาจรู้สึกเจ็บเท้า โดยเฉพาะบริเวณส้นเท้าหรืออุ้งเท้า อาการเจ็บนั้นจะยิ่งแย่ลงเมื่อต้องทำกิจกรรมต่างๆ รวมทั้งเกิดอาการบวมที่ข้อเท้าด้านในร่วมด้วย

ภาวะเท้าแบน (Flat feet)

        วิธีรักษาภาวะเท้าแบนขึ้นอยู่กับสาเหตุและระดับความรุนแรงของอาการ หนึ่งในวิธีรักษาภาวะเท้าแบนที่แพทย์แนะนำ คือ การใช้กายอุปกรณ์เสริมปรับสภาพเท้า (orthotics/insoles) หรือแผ่นรองในรองเท้าที่มีส่วนซัพพอร์ตอุ้งเท้า (arch support) โดยแผ่นรองในรองเท้าจะบรรเทาอาการเจ็บเท้าและช่วยหนุนเท้า ผู้ป่วยจะสอดแผ่นรองในรองเท้าไว้ในรองเท้า

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

  • เป็นวัสดุแผ่นรองในรองเท้าที่มีรูปทรงจำเพาะกับผู้ป่วยแต่ละคน
  • เป็นแผ่นรองในรองเท้าที่มีส่วนซัพพอร์ตอุ้งเท้า (arch support) ที่จะบรรเทาอาการเจ็บเท้าและช่วยหนุนเท้า
  • ใช้ระยะเวลาการผลิตสั้น ลดขั้นตอนการผลิต และลดการสูญเสียวัสดุในปริมาณที่น้อยเมื่อเทียบกับการผลิตอุปกรณ์แผ่นรองในรองเท้าแบบทั่วไป

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

  • การใช้เทคโนโลยีการขึ้นรูปด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติ (3D printing Technology)
  • การพัฒนาสูตรพอลิเมอร์ผสมสำหรับการเตรียมเส้นฟิลาเม้นต์สำหรับใช้ในการขึ้นรูปชิ้นส่วนโครงพลาสติกของแผ่นรองในรองเท้าด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติชนิดหัวอัดรีด

สถานภาพของผลงาน

        อนุสิทธิบัตรเรื่อง “เส้นฟิลาเม้นต์พอลิเมอร์ที่มีสมบัติแข็งแรงและเหนียวสำหรับการพิมพ์สามมิติระบบเอฟดีเอ็ม” เลขที่คำขอ 2003001234

กลุ่มเป้าหมาย

  • กลุ่มผู้ป่วยเท้าเเบน
  • กลุ่มบริษัทที่ผลิต Insole
  • กลุ่มโรงพยาบาลที่รักษาผู้ป่วยเท้าแบน

ติดต่อสอบถาม

ขนิษฐา สิริจามร
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post แผ่นรองในรองเท้าเฉพาะรายจากเครื่องพิมพ์สามมิติในกลุ่มผู้ป่วยเท้าเเบน appeared first on NAC2021.

]]>
สเปรย์นาโนอิมัลชั่นผสมสารสกัดกระชายดำสำหรับดับกลิ่น http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/13/na04-nanoemulsion-black-galingale/ Sat, 13 Mar 2021 05:17:00 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=13572 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ดร.อุดม อัศวาภิรมย์ ดร.ดวงพร พลพานิช นางสาวจารุวรรณ จูฑะมงคล และนางสาวกรกต ศุภนคร ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC) กระชายดำเป็นพืชสมุนไพร ที่สามารถพบได้มากในประเทศไทยเช่น เพชรบูรณ์ กาญจนบุรี พิษณุโลก และจังหวัดอื่นๆ ทางภาคเหนือ มีรายงานพบว่ากระชายดำมีสรรพคุณตามตำรายาไทยในด้าน บำรุงกำลัง แก้ปวดเมื่อย แก้อาการเหนื่อยล้า เพิ่มสมรรถภาพทางเพศ ช่วยขับลม เป็นยาอายุวัฒนะ แก้จุกเสียด แก้ปวดท้อง ขับปัสสาวะ กระตุ้นระบบประสาท รักษาความสมดุลความดันโลหิต ขยายหลอดเลือดหัวใจ รักษาสมดุลของระบบการย่อย แก้โรคบิด ลดระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน นอกจากสรรพคุณทางยาแล้ว กระชายดำยังมีฤทธิ์ทางด้านการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อทางชีวภาพ ซึ่งจากการศึกษาเบื้องต้นโดยทีมวิจัยศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ พบว่า สารสกัดจากเหง้ากระชายดำมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อทางชีวภาพที่เป็นสาเหตุของโรคทางผิวหนังที่ก่อให้เกิดกลิ่นไม่พึงประสงค์ได้ เช่น Micrococcus sedentarius  Trichophyton mentagrophytes และ Trichophyton rubrum ทีมวิจัยจึงได้นำสารสกัดกระชายดำมาพัฒนาเป็นสูตรตำรับผลิตภัณฑ์ระงับกลิ่นในรูปแบบสเปรย์นาโนอิมัลชัน ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์ยับยั้งเชื้อทางชีวภาพที่เป็นสาเหตุของโรคทางผิวหนังที่ก่อให้เกิดกลิ่นไม่พึงประสงค์ได้ คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญเติบโตเชื้อแบคทีเรียและเชื้อรา (Antimicrobial activity) […]

The post สเปรย์นาโนอิมัลชั่นผสมสารสกัดกระชายดำสำหรับดับกลิ่น appeared first on NAC2021.

]]>

สเปรย์นาโนอิมัลชั่นผสมสารสกัดกระชายดำสำหรับดับกลิ่น

สเปรย์นาโนอิมัลชั่นผสมสารสกัดกระชายดำสำหรับดับกลิ่น

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ดร.อุดม อัศวาภิรมย์
ดร.ดวงพร พลพานิช
นางสาวจารุวรรณ จูฑะมงคล
และนางสาวกรกต ศุภนคร
ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC)

        กระชายดำเป็นพืชสมุนไพร ที่สามารถพบได้มากในประเทศไทยเช่น เพชรบูรณ์ กาญจนบุรี พิษณุโลก และจังหวัดอื่นๆ ทางภาคเหนือ มีรายงานพบว่ากระชายดำมีสรรพคุณตามตำรายาไทยในด้าน บำรุงกำลัง แก้ปวดเมื่อย แก้อาการเหนื่อยล้า เพิ่มสมรรถภาพทางเพศ ช่วยขับลม เป็นยาอายุวัฒนะ แก้จุกเสียด แก้ปวดท้อง ขับปัสสาวะ กระตุ้นระบบประสาท รักษาความสมดุลความดันโลหิต ขยายหลอดเลือดหัวใจ รักษาสมดุลของระบบการย่อย แก้โรคบิด ลดระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน นอกจากสรรพคุณทางยาแล้ว กระชายดำยังมีฤทธิ์ทางด้านการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อทางชีวภาพ ซึ่งจากการศึกษาเบื้องต้นโดยทีมวิจัยศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ พบว่า สารสกัดจากเหง้ากระชายดำมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อทางชีวภาพที่เป็นสาเหตุของโรคทางผิวหนังที่ก่อให้เกิดกลิ่นไม่พึงประสงค์ได้ เช่น Micrococcus sedentarius  Trichophyton mentagrophytes และ Trichophyton rubrum ทีมวิจัยจึงได้นำสารสกัดกระชายดำมาพัฒนาเป็นสูตรตำรับผลิตภัณฑ์ระงับกลิ่นในรูปแบบสเปรย์นาโนอิมัลชัน ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์ยับยั้งเชื้อทางชีวภาพที่เป็นสาเหตุของโรคทางผิวหนังที่ก่อให้เกิดกลิ่นไม่พึงประสงค์ได้

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

  • มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญเติบโตเชื้อแบคทีเรียและเชื้อรา (Antimicrobial activity) จึงช่วยลดกลิ่นไม่พึงประสงค์ที่เกิดจากการสะสมของเชื้อราและแบคทีเรีย
  • เป็นผลิตภัณฑ์จากสารสกัดจากธรรมชาติ ไม่ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง
  • สูตรตำรับอยู่ในรูปแบบนาโนอิมัลชั่น ที่ช่วยเพิ่มการกระจายตัวและความคงตัวของสารสกัดในสูตรตำรับ
  • ขั้นตอนการผลิตสามารถทำได้โดยอุปกรณ์เครื่องจัดทั่วไปในระดับอุตสาหกรรม

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

        ใช้สำหรับดับกลิ่นบริเวณที่เกิดการสะสมของแบคทีเรีย เช่น เท้า รักแร้ หรือบริเวณในร่มผ้า เป็นต้น

สถานภาพของผลงาน

        ได้รับความคุ้มครองภายใต้คำขออนุสิทธิบัตร ยื่นคำขอวันที่ 26 ก.ย. 2561

กลุ่มเป้าหมาย

  • ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ส่วนบุคคลหรือเครื่องสำอาง
  • ผู้ผลิตสารสกัดธรรมชาติ

ติดต่อสอบถาม

สโรชา เพ็งศรี
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post สเปรย์นาโนอิมัลชั่นผสมสารสกัดกระชายดำสำหรับดับกลิ่น appeared first on NAC2021.

]]>
ศูนย์นวัตกรรมการผลิตยั่งยืน (Sustainable Manufacturing Center: SMC) http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/13/na19-sustainable-manufacturing-center/ Sat, 13 Mar 2021 04:35:43 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=13553 โครงสร้างพื้นฐานสำคัญของประเทศด้านระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์ และอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ ของเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi) จุดเด่นของงานวิจัย/เทคโนโลยี ศูนย์นวัตกรรมการผลิตยั่งยืน หรือ Sustainable Manufacturing Center: SMC เป็นโครงการนำร่องของเมืองนวัตกรรมระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์ และอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (ARIPOLIS) ซึ่งเป็น 1 ใน 4 เมืองนวัตกรรมของ EECi  ศูนย์นวัตกรรม SMC จะช่วยแก้ปัญหาภาคอุตสาหกรรมการผลิตของไทยที่ขาดแคลนแรงงานทักษะที่จำเป็น เครื่องจักรที่ใช้งานอยู่ไม่ทันสมัย ทำให้ประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตลดลง ตลอดจนลดการใช้พลังงานอย่างมีนัยยะสำคัญ ด้วยแพลตฟอร์ม IDA (Industrial IoT and Data Analytics Platform) หรือ แพลตฟอร์มไอโอทีและระบบวิเคราะห์ข้อมูลอุตสาหกรรม Smart Factory แพลตฟอร์ม IDA เป็นแพลตฟอร์มที่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลจากอุปกรณ์ IoT ที่จะช่วยติดตาม วิเคราะห์ข้อมูล และตรวจสอบประสิทธิภาพการผลิต การใช้พลังงาน รวมถึงค่าสภาวะต่างๆ ของเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม นำไปสู่การบริหารจัดการการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพและแม่นยำมากขึ้น เช่น ลดการสูญเสียจากการหยุดเครื่องจักร ลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุง ลดระดับสินค้าคงคลัง […]

The post ศูนย์นวัตกรรมการผลิตยั่งยืน (Sustainable Manufacturing Center: SMC) appeared first on NAC2021.

]]>

ศูนย์นวัตกรรมการผลิตยั่งยืน (Sustainable Manufacturing Center: SMC)

ศูนย์นวัตกรรมการผลิตยั่งยืน (Sustainable Manufacturing Center: SMC)

โครงสร้างพื้นฐานสำคัญของประเทศด้านระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์ และอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
ของเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi)

จุดเด่นของงานวิจัย/เทคโนโลยี

        ศูนย์นวัตกรรมการผลิตยั่งยืน หรือ Sustainable Manufacturing Center: SMC เป็นโครงการนำร่องของเมืองนวัตกรรมระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์ และอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (ARIPOLIS) ซึ่งเป็น 1 ใน 4 เมืองนวัตกรรมของ EECi  ศูนย์นวัตกรรม SMC จะช่วยแก้ปัญหาภาคอุตสาหกรรมการผลิตของไทยที่ขาดแคลนแรงงานทักษะที่จำเป็น เครื่องจักรที่ใช้งานอยู่ไม่ทันสมัย ทำให้ประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตลดลง ตลอดจนลดการใช้พลังงานอย่างมีนัยยะสำคัญ ด้วยแพลตฟอร์ม IDA (Industrial IoT and Data Analytics Platform) หรือ แพลตฟอร์มไอโอทีและระบบวิเคราะห์ข้อมูลอุตสาหกรรม

Smart Factory

        แพลตฟอร์ม IDA เป็นแพลตฟอร์มที่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลจากอุปกรณ์ IoT ที่จะช่วยติดตาม วิเคราะห์ข้อมูล และตรวจสอบประสิทธิภาพการผลิต การใช้พลังงาน รวมถึงค่าสภาวะต่างๆ ของเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม นำไปสู่การบริหารจัดการการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพและแม่นยำมากขึ้น เช่น ลดการสูญเสียจากการหยุดเครื่องจักร ลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุง ลดระดับสินค้าคงคลัง ช่วยให้การทำงานมีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังผลักดันให้ภาคการผลิตสามารถแข่งขันทั้งด้านราคาและเทคโนโลยีกับต่างประเทศได้อย่างยั่งยืน ปัจจุบัน มีโรงงานเข้าร่วมโครงการในปี 2563 จำนวน 15 โรงงาน และจะขยายไปอีก 500 โรงงาน ภายในเวลา 3 ปี

IDA Platform

        และการที่จะให้ภาคอุตสาหกรรมของไทยสามารถปรับตัวสู่ Industry 4.0 ได้นั้น ผู้ประกอบการสามารถประเมินความพร้อมด้านอุตสาหกรรม 4.0 ด้วยการใช้ดัชนีชี้วัดความพร้อมอุตสาหกรรมสมัยใหม่ หรือ Smart Industry Readiness Index: SIRI จะช่วยประเมินความพร้อมของโรงงานใน 3 ด้านหลัก คือ Process, Technology, และ Organization ซึ่งข้อมูลที่ได้จากการประเมินจะช่วยส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการปฏิรูปอุตสาหกรรมอย่างเป็นระบบ รวมทั้งช่วยสถานประกอบการ โรงงาน บริษัท ให้สามารถกำหนดแนวทางและปรับตัวสู่ทิศทางอุตสาหกรรม 4.0 ได้อย่างยั่งยืน

        จะเห็นได้ว่าเทคโนโลยีทางด้านระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์ และระบบอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ เป็นเทคโนโลยีมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาไปสู่อุตสาหกรรม 4.0 เพราะเป็นเทคโนโลยีฐานที่สำคัญที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในภาคอุตสาหกรรมอื่นๆ ได้อย่างกว้างขวาง

        มาร่วมเป็นส่วนสำคัญของการพัฒนาประเทศไทยสู่เศรษฐกิจฐานนวัตกรรมด้วยกันกับ EECi

เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi)

เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก หรือ EECi เป็นแหล่งพัฒนางานวิจัยขยายผล (Translational Research Hub) และเป็นแหล่งปรับเเปลงเทคโนโลยีชั้นสูงจากต่างประเทศ (Technology Localization) ให้เข้ากับบริบทของประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียน เพื่อปิดช่องว่างทางเทคโนโลยีของไทย ที่ด้านหนึ่งมีขีดความสามารถสร้างผลงานเเล้วในระดับห้องปฏิบัติการ เเต่ผลงานที่ได้ส่วนใหญ่ยังส่งไม่ถึงผู้ใช้ประโยชน์ เพราะที่ผ่านมาประเทศไทยไม่ได้ลงทุนกับโครงสร้างพื้นฐานและกลไกขยายผลงานวิจัยเท่าไรนัก และอีกด้านหนึ่งก็ไม่สามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีชั้นสูงจากต่างประเทศได้มากนัก เพราะขาดโครงสร้างพื้นฐานและกลไกที่จะรองรับการปรับแปลงเทคโนโลยีให้เข้ากับบริบทของไทย

ติดต่อสอบถาม

เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก

ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ:

The post ศูนย์นวัตกรรมการผลิตยั่งยืน (Sustainable Manufacturing Center: SMC) appeared first on NAC2021.

]]>
เทคโนโลยีการประเมินสรีระวิทยาและรูปลักษณ์ขั้นสูงของพืช (Plant Phenomics Facility) http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/13/na17-plant-phenomics-facility/ Sat, 13 Mar 2021 04:17:00 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=13534 โครงสร้างพื้นฐานสำคัญของประเทศด้านการเกษตรสมัยใหม่ของเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi) จุดเด่นของงานวิจัย/เทคโนโลยี         ในปัจจุบันการคัดเลือกพันธุ์พืชที่มีศักยภาพนั้นมีความจำเป็นที่จะต้องศึกษาลักษณะสรีระวิทยาและรูปลักษณ์ขั้นสูง หรือ ฟีโนไทป์ (Phenotypic Characterization) ของพืชในเชิงลึก เช่น ลักษณะทางการเกษตรของ ต้น ดอก ราก เมล็ด คุณสมบัติทางเคมีของผลผลิต ความต้านทานโรค และการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อม แต่การคัดเลือกดังกล่าวยังใช้วิธีการปลูกประเมินในแปลงเป็นหลัก ซึ่งมีข้อจำกัดที่ต้องใช้พื้นที่ขนาดใหญ่ และใช้เวลาในการปลูกประเมินค่อนข้างนาน รวมถึงความแปรปรวนสูงของสภาวะแวดล้อม รวมถึงความแปรปรวนสูงของสภาวะแวดล้อม (Environment; E) ที่จะส่งผลต่อพืชแต่ละชนิดว่าต้องการปริมาณธาตุอาหาร น้ำ แสง ความชื้นในดิน/อากาศ อุณหภูมิ เพื่อการเติบโตและให้ผลผลิตที่แตกต่างกันไป และยังไม่สามารถควบคุมปัจจัยที่เป็น Biotic factors เช่น โรค แมลงได้อีกด้วย ส่งผลให้ความแม่นยำในผลของการคัดเลือกพันธุ์ที่มีศักยภาพมีประสิทธิภาพลดลง จึงมีความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในการศึกษาลักษณะการแสดงออก ทั้งทางด้านสรีรวิทยาและการสร้างผลผลิตที่ตอบสนองต่อสภาวะแวดล้อมต่างๆ แบบรวดเร็วและมีความแม่นยำมากขึ้น        ด้วยเหตุผลดังกล่าว จึงเป็นที่มาของเทคโนโลยีการประเมินสรีระวิทยาและรูปลักษณ์ขั้นสูงของพืช (Plant Phenomics Facility) ณ เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก […]

The post เทคโนโลยีการประเมินสรีระวิทยาและรูปลักษณ์ขั้นสูงของพืช (Plant Phenomics Facility) appeared first on NAC2021.

]]>

เทคโนโลยีการประเมินสรีระวิทยาและรูปลักษณ์ขั้นสูงของพืช (Plant Phenomics Facility)

เทคโนโลยีการประเมินสรีระวิทยาและรูปลักษณ์ขั้นสูงของพืช (Plant Phenomics Facility)

โครงสร้างพื้นฐานสำคัญของประเทศด้านการเกษตรสมัยใหม่
ของเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi)

จุดเด่นของงานวิจัย/เทคโนโลยี

        ในปัจจุบันการคัดเลือกพันธุ์พืชที่มีศักยภาพนั้นมีความจำเป็นที่จะต้องศึกษาลักษณะสรีระวิทยาและรูปลักษณ์ขั้นสูง หรือ ฟีโนไทป์ (Phenotypic Characterization) ของพืชในเชิงลึก เช่น ลักษณะทางการเกษตรของ ต้น ดอก ราก เมล็ด คุณสมบัติทางเคมีของผลผลิต ความต้านทานโรค และการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อม แต่การคัดเลือกดังกล่าวยังใช้วิธีการปลูกประเมินในแปลงเป็นหลัก ซึ่งมีข้อจำกัดที่ต้องใช้พื้นที่ขนาดใหญ่ และใช้เวลาในการปลูกประเมินค่อนข้างนาน รวมถึงความแปรปรวนสูงของสภาวะแวดล้อม รวมถึงความแปรปรวนสูงของสภาวะแวดล้อม (Environment; E) ที่จะส่งผลต่อพืชแต่ละชนิดว่าต้องการปริมาณธาตุอาหาร น้ำ แสง ความชื้นในดิน/อากาศ อุณหภูมิ เพื่อการเติบโตและให้ผลผลิตที่แตกต่างกันไป และยังไม่สามารถควบคุมปัจจัยที่เป็น Biotic factors เช่น โรค แมลงได้อีกด้วย ส่งผลให้ความแม่นยำในผลของการคัดเลือกพันธุ์ที่มีศักยภาพมีประสิทธิภาพลดลง จึงมีความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในการศึกษาลักษณะการแสดงออก ทั้งทางด้านสรีรวิทยาและการสร้างผลผลิตที่ตอบสนองต่อสภาวะแวดล้อมต่างๆ แบบรวดเร็วและมีความแม่นยำมากขึ้น

       ด้วยเหตุผลดังกล่าว จึงเป็นที่มาของเทคโนโลยีการประเมินสรีระวิทยาและรูปลักษณ์ขั้นสูงของพืช (Plant Phenomics Facility) ณ เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก หรือ Eastern Economic Corridor of Innovation (EECi) ที่จะเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นในศึกษาลักษณะการแสดงออกของพืช ทั้งทางด้านสรีรวิทยาและการสร้างผลผลิตที่ตอบสนองต่อสภาวะแวดล้อมต่างๆ จากการประยุกต์ใช้ระบบประเมินสรีระวิทยาและรูปลักษณ์ขั้นสูงของพืชอย่างรวดเร็วและแม่นยำ (High throughput Phenotyping) และ ระบบ Image Analysis ที่ประกอบไปด้วย Chlorophyll Fluorescence Units, Thermal Imaging Unit และ Hyperspectral Imaging Unit และรองรับการประมวลผลในรูปแบบ 3D imaging (3D Laser Scanning) ที่จะสามารถถ่ายภาพสรีระวิทยาและรูปลักษณ์ขั้นสูงของพืชได้ทั้งต้นพืชส่วนเหนือดินและส่วนรากและหัวใต้ดินของพืช ภายใต้การควบคุมด้วยระบบสายพานลำเลียงอัตโนมัติ มีระบบรดน้ำและชั่งน้ำหนัก ที่สามารถควบคุมสภาพแวดล้อมต่างๆได้นั้น ศูนย์แห่งนี้สามารถตรวจวัดต้นพืชที่มีขนาดความสูงได้ถึง 2.5 เมตร และมีความกว้างทรงพุ่มที่ 1.5 เมตร ในแบบไม่ทำลายต้น ที่สามารถตรวจวัดได้อย่างรวดเร็ว แม่นยำ ด้วยระบบควบคุมอัตโนมัติ และมีโปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูลที่สอดคล้องกับ parameter ต่างๆ

Plant Phenomics

        ความรู้ด้านสรีรวิทยาและชีววิทยาที่ได้มานี้จะช่วยในการคัดเลือกพันธุ์ที่มีศักยภาพ รวมถึงการจัดการและการควบคุมการเติบโตของพืชได้อย่างมีประสิทธิภาพ การนำทางเทคโนโลยี High throughput Phenotyping และ Image Analysis มาช่วยในการคัดเลือกจะทำให้สามารถคัดเลือกได้พันธุ์พืชที่ให้ผลผลิตเชิงปริมาณที่สูงควบคู่กับมีคุณสมบัติที่ดี ทนต่อสภาวะแวดล้อมที่จำกัด เช่น ทนแล้ง ทนน้ำท่วม ต้านทานต่อการระบาดของโรคและแมลง และยังรวมไปถึงการคัดเลือกพันธุ์ที่มีคุณสมบัติ เชิงคุณภาพ เช่น มีปริมาณธาตุอาหารสูง มีคุณสมบัติตอบโจทย์ความต้องการของตลาด เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและจุดขายให้กับพืช และยังสามารถพัฒนาไปสู่การเกษตรแม่นยำที่สามารถติดตามและคาดการณ์สภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปสำหรับการให้ปุ๋ยและน้ำในปริมาณที่เหมาะสม จากองค์ความรู้ดังกล่าวจะนำไปสู่การขยายผลใช้ประโยชน์ (Translational Research) ที่เชื่อมโยงกับแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของบริบทโลกและการเปลี่ยนแปลงของตลาดในอนาคต เพื่อรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรต่อไปได้อย่างยั่งยืน

        มาร่วมเป็นส่วนสำคัญของการพัฒนาประเทศไทยสู่เศรษฐกิจฐานนวัตกรรมด้วยกันกับ EECi

Greenhouse

เมืองนวัตกรรมชีวภาพของ EECi (EECi BIOPOLIS)

เมืองนวัตกรรมชีวภาพของ EECi (EECi BIOPOLIS) เป็นแพลทฟอร์ม (innovation platform) ที่มุ่งส่งเสริมอุตสาหกรรมฐานชีวภาพ (Bio-based Industry) ตามแนวคิด BCG ของรัฐบาล เพื่อให้ประเทศเข้มแข็งและเติบโตอย่างยั่งยืน โดยผลักดันให้ผลงานวิจัยได้รับการต่อยอดสู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์อย่างก้าวกระโดด 

ติดต่อสอบถาม

เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก

ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ:

The post เทคโนโลยีการประเมินสรีระวิทยาและรูปลักษณ์ขั้นสูงของพืช (Plant Phenomics Facility) appeared first on NAC2021.

]]>
โรงงานต้นแบบไบโอรีไฟเนอรี (Biorefinery Pilot Plant) http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/12/na18-eeci-biorefinery-pilot-plant/ Fri, 12 Mar 2021 15:52:19 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=13454 โครงสร้างพื้นฐานสำคัญของประเทศด้านอุตสาหกรรมไบโอรีไฟเนอรี (Biorefinery) ของเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi) จุดเด่นของงานวิจัย/เทคโนโลยี อุตสาหกรรมไบโอรีไฟเนอรี่เป็นการแปรรูปชีวมวลด้วยกระบวนการทางกายภาพ เคมี และ/หรือชีวภาพเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ฐานชีวภาพ (Bio-based product) ประเภทต่างๆ อาทิ ผลิตภัณฑ์เคมีชีวภาพ วัสดุชีวภาพ สารชีวภาพที่ให้คุณสมบัติพิเศษสำหรับนำไปผลิตเป็นอาหารเสริมสุขภาพ เครื่องสำอางและยา ประเทศไทยมีศักยภาพในการผลักดันให้เกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมไบโอรีไฟเนอรีเพื่อเป็นกลไกการสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยอาศัยข้อได้เปรียบที่สำคัญ คือ ความพร้อมของวัตถุดิบตั้งต้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งวัตถุดิบในกลุ่มแป้ง น้ำตาล น้ำมัน และวัสดุเหลือทิ้งการเกษตรที่เป็นลิกโนเซลลูโลสที่มีเป็นจำนวนมาก แต่การพัฒนานวัตกรรมด้านเทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์ฐานชีวภาพจำเป็นต้องมีการทดลองการผลิตระดับขยายขนาด เนื่องจาก การลงทุนในอุตสาหกรรมฐานชีวภาพจำเป็นต้องมีการประเมินความเป็นไปได้ทั้งในเชิงเทคโนโลยี และเชิงเศรษฐศาสตร์ (Techno-economic feasibility) ซึ่งข้อมูลในระดับห้องปฏิบัติการไม่เพียงพอที่จะได้ผลการประเมินที่แม่นยำ เทคโนโลยีด้านวิศวกระบวนการไม่สามารถพัฒนาและคัดเลือกกระบวนการที่เหมาะสมได้ในระดับห้องปฏิบัติการ เนื่องจากข้อจำกัดของเครื่องมือที่แตกต่างกัน กระบวนการพัฒนาจนได้เป็นผลิตภัณฑ์สุดท้าย ต้องมีกระบวนการผลิตหลายขั้นตอน ดังนั้น การขาดหน่วยผลิตระดับขยายขนาดในขั้นตอนกระบวนการผลิตต้นทาง จะทำให้ไม่สามารถผลิตสารในปริมาณที่มากพอ สำหรับใช้เป็นวัตถุดิบตั้งต้นในขั้นต่อไป จึงทำให้ขาดโอกาสในการพัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่มและสูงได้ อย่างไรก็ตาม การลงทุนโรงงานต้นแบบหนึ่งแห่งต้องใช้เงินลงทุนสูงมาก ดังนั้น โรงงานต้นแบบไบโอรีไฟเนอรี ณ เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก จึงได้ถูกจัดตั้งขึ้น เพื่อเป็นแพลตฟอร์มการให้บริการการขยายขนาดกระบวนการผลิตด้านไบโอรีไฟเนอรีได้หลากหลายชนิดของวัตถุดิบ กระบวนการ และผลิตภัณฑ์ โดยรองรับตั้งแต่กระบวนการต้นน้ำ ได้แก่ กระบวนการแยกองค์ประกอบชีวมวล (Biomass fractionation) กระบวนการแปรรูปด้วยชีวกระบวนการ  […]

The post โรงงานต้นแบบไบโอรีไฟเนอรี (Biorefinery Pilot Plant) appeared first on NAC2021.

]]>

โรงงานต้นแบบไบโอรีไฟเนอรี (Biorefinery Pilot Plant)

โรงงานต้นแบบไบโอรีไฟเนอรี (Biorefinery Pilot Plant)

โครงสร้างพื้นฐานสำคัญของประเทศด้านอุตสาหกรรมไบโอรีไฟเนอรี (Biorefinery)
ของเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi)

จุดเด่นของงานวิจัย/เทคโนโลยี

       อุตสาหกรรมไบโอรีไฟเนอรี่เป็นการแปรรูปชีวมวลด้วยกระบวนการทางกายภาพ เคมี และ/หรือชีวภาพเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ฐานชีวภาพ (Bio-based product) ประเภทต่างๆ อาทิ ผลิตภัณฑ์เคมีชีวภาพ วัสดุชีวภาพ สารชีวภาพที่ให้คุณสมบัติพิเศษสำหรับนำไปผลิตเป็นอาหารเสริมสุขภาพ เครื่องสำอางและยา

        ประเทศไทยมีศักยภาพในการผลักดันให้เกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมไบโอรีไฟเนอรีเพื่อเป็นกลไกการสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยอาศัยข้อได้เปรียบที่สำคัญ คือ ความพร้อมของวัตถุดิบตั้งต้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งวัตถุดิบในกลุ่มแป้ง น้ำตาล น้ำมัน และวัสดุเหลือทิ้งการเกษตรที่เป็นลิกโนเซลลูโลสที่มีเป็นจำนวนมาก แต่การพัฒนานวัตกรรมด้านเทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์ฐานชีวภาพจำเป็นต้องมีการทดลองการผลิตระดับขยายขนาด เนื่องจาก

  1. การลงทุนในอุตสาหกรรมฐานชีวภาพจำเป็นต้องมีการประเมินความเป็นไปได้ทั้งในเชิงเทคโนโลยี และเชิงเศรษฐศาสตร์ (Techno-economic feasibility) ซึ่งข้อมูลในระดับห้องปฏิบัติการไม่เพียงพอที่จะได้ผลการประเมินที่แม่นยำ
  2. เทคโนโลยีด้านวิศวกระบวนการไม่สามารถพัฒนาและคัดเลือกกระบวนการที่เหมาะสมได้ในระดับห้องปฏิบัติการ เนื่องจากข้อจำกัดของเครื่องมือที่แตกต่างกัน
  3. กระบวนการพัฒนาจนได้เป็นผลิตภัณฑ์สุดท้าย ต้องมีกระบวนการผลิตหลายขั้นตอน ดังนั้น การขาดหน่วยผลิตระดับขยายขนาดในขั้นตอนกระบวนการผลิตต้นทาง จะทำให้ไม่สามารถผลิตสารในปริมาณที่มากพอ สำหรับใช้เป็นวัตถุดิบตั้งต้นในขั้นต่อไป จึงทำให้ขาดโอกาสในการพัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่มและสูงได้

        อย่างไรก็ตาม การลงทุนโรงงานต้นแบบหนึ่งแห่งต้องใช้เงินลงทุนสูงมาก ดังนั้น โรงงานต้นแบบไบโอรีไฟเนอรี ณ เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก จึงได้ถูกจัดตั้งขึ้น เพื่อเป็นแพลตฟอร์มการให้บริการการขยายขนาดกระบวนการผลิตด้านไบโอรีไฟเนอรีได้หลากหลายชนิดของวัตถุดิบ กระบวนการ และผลิตภัณฑ์ โดยรองรับตั้งแต่กระบวนการต้นน้ำ ได้แก่ กระบวนการแยกองค์ประกอบชีวมวล (Biomass fractionation) กระบวนการแปรรูปด้วยชีวกระบวนการ  (Bioprocess) จนไปถึงกระบวนการแยกเพื่อเก็บเกี่ยวผลิตภัณฑ์ที่ผลิตได้ (Downstream process) โรงงานต้นแบบมีทั้งระบบที่ออกแบบมาตรฐาน GMP (Good Manufacturing Practice) เพื่อรองรับการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ประเภทอาหาร หรือเวชสำอาง ได้แก่ สารที่ให้ประโยชน์เชิงหน้าที่ (Functional ingredient) อาหารเสริมสุขภาพ (Nutraceutical and functional food) และระบบที่เป็น Non-GMP เพื่อรองรับการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชีวภาพอื่นๆ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์เคมีชีวภาพ (Biochemical) และสารชีวภาพที่ให้คุณสมบัติพิเศษ (Biospecialty) โดยโรงงานแห่งนี้จะมีถังหมัก (Fermentor) มาตรฐาน GMP ที่มีขนาด 15,000 ลิตร เพื่อรองรับการผลิตผลิตภัณฑ์ที่สามารถทดสอบตลาดได้

        โรงงานต้นแบบไบโอรีไฟเนอรี (Biorefienry Pilot Plan) ของเมืองนวัตกรรมชีวภาพ (BIOPOLIS) ในเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกเป็นการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานที่จะนำไปสู่การปิดช่องว่างของนวัตกรรม (valley of death) ที่เป็นการนำเทคโนโลยีแบบพลิกโฉมฉับพลัน (disruptive technology) มาผลักดันให้ผลงานวิจัยได้รับการต่อยอดสู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์อย่างก้าวกระโดด และเพิ่มความสามารถในการแข่งขันให้กับผู้ประกอบการไทยทั้งผู้ประกอบการรายเดิมและรายใหม่ ให้ก้าวข้ามจากการรับจ้างผลิตแบบเดิมไปสู่การผลิตสินค้าและบริการที่สร้างมูลค่าเพิ่ม สร้างมูลค่าเพิ่มของสินค้าเกษตร อันเป็นฐานสำคัญของการผลักดันให้ประเทศไทยก้าวพ้นจากการติดกับดักรายได้ปานกลางไปสู่การเป็นประเทศที่มีรายได้สูง

        มาร่วมเป็นส่วนสำคัญของการพัฒนาประเทศไทยสู่เศรษฐกิจฐานนวัตกรรมด้วยกันกับ EECi

วีดีโอเมืองนวัตกรรมชีวภาพของ EECi (EECi BIOPOLIS)

เมืองนวัตกรรมชีวภาพของ EECi (EECi BIOPOLIS) เป็นแพลทฟอร์ม (innovation platform) ที่มุ่งส่งเสริมอุตสาหกรรมฐานชีวภาพ (Bio-based Industry) ตามแนวคิด BCG ของรัฐบาล เพื่อให้ประเทศเข้มแข็งและเติบโตอย่างยั่งยืน โดยผลักดันให้ผลงานวิจัยได้รับการต่อยอดสู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์อย่างก้าวกระโดด

ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ:

The post โรงงานต้นแบบไบโอรีไฟเนอรี (Biorefinery Pilot Plant) appeared first on NAC2021.

]]>
ต้นแบบหุ่นยนต์ขัดชิ้นงาน http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/12/na14-refurbished-robot/ Fri, 12 Mar 2021 15:21:55 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=13425 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ผศ.ดร.สันทัด ชูวงค์อินทร์ วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตชั้นสูง (AMI) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ในโครงการวิจัยนี้ หุ่นยนต์ (Refurbished robot) ถูกสั่งการด้วยกล่องควบคุมที่ถูกพัฒนาขึ้น (Refurbished controller) โดยผ่านโปรโตคอล EtherCAT เวอร์ชันล่าสุดของ  IgH EtherCAT® Master อยู่ในส่วน Real-time linux extension  การพัฒนาหุ่นยนต์ขัดพื้นผิวชิ้นงานจึงประกอบด้วยทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ที่ผ่านการทดสอบการทำงานแบบเรียลไทม์ ซึ่งส่วนสำคัญคือการกำหนดเวอร์ชันของเคอร์เนล (Kernel Version) ที่จำเป็นอย่างยิ่งสำหรับ RT_PREEMPT เพื่อรับประกันประสิทธิภาพแบบเรียลไทม์ การเลือกใช้เวอร์ชันของเคอร์เนล และฮาร์ดแวร์ที่เหมาะสมจึงเป็นหัวใจสำคัญ EtherCAT® Master ของ IgH ที่จะเชื่อมต่อกับไดรฟ์เซอร์โว และ I/O โดยใช้โปรโตคอล CANopen-over-EtherCAT (CoE)  ในบางครั้งการคอมไพล์เคอร์เนลที่ไม่เหมาะสม หรือการใช้ CPU หรือ Chipset ของ Gigabit LAN ที่ไม่เหมาะสม อาจทำให้การทำงานในแบบเรียลไทม์ไม่มีประสิทธิภาพ  […]

The post ต้นแบบหุ่นยนต์ขัดชิ้นงาน appeared first on NAC2021.

]]>

ต้นแบบหุ่นยนต์ขัดชิ้นงาน

ต้นแบบหุ่นยนต์ขัดชิ้นงาน

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ผศ.ดร.สันทัด ชูวงค์อินทร์
วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตชั้นสูง (AMI)
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

       ในโครงการวิจัยนี้ หุ่นยนต์ (Refurbished robot) ถูกสั่งการด้วยกล่องควบคุมที่ถูกพัฒนาขึ้น (Refurbished controller) โดยผ่านโปรโตคอล EtherCAT เวอร์ชันล่าสุดของ  IgH EtherCAT® Master อยู่ในส่วน Real-time linux extension  การพัฒนาหุ่นยนต์ขัดพื้นผิวชิ้นงานจึงประกอบด้วยทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ที่ผ่านการทดสอบการทำงานแบบเรียลไทม์ ซึ่งส่วนสำคัญคือการกำหนดเวอร์ชันของเคอร์เนล (Kernel Version) ที่จำเป็นอย่างยิ่งสำหรับ RT_PREEMPT เพื่อรับประกันประสิทธิภาพแบบเรียลไทม์ การเลือกใช้เวอร์ชันของเคอร์เนล และฮาร์ดแวร์ที่เหมาะสมจึงเป็นหัวใจสำคัญ EtherCAT® Master ของ IgH ที่จะเชื่อมต่อกับไดรฟ์เซอร์โว และ I/O โดยใช้โปรโตคอล CANopen-over-EtherCAT (CoE)  ในบางครั้งการคอมไพล์เคอร์เนลที่ไม่เหมาะสม หรือการใช้ CPU หรือ Chipset ของ Gigabit LAN ที่ไม่เหมาะสม อาจทำให้การทำงานในแบบเรียลไทม์ไม่มีประสิทธิภาพ  โดยรูปที่ 1 แสดงหุ่นยนต์และกล่องควบคุมที่ถูกพัฒนาขึ้นในโครงการวิจัยนี้

รูปที่ 1: Refurbished Robot และ Refurbished Motion Controller
โดยใช้โปรแกรม CiRA Polishing เพื่องานขัดพื้นผิว

จุดเด่นของงานวิจัย/เทคโนโลยี

       ในส่วนการใช้งานแพลตฟอร์ม CiRACORE เพื่อขัดพื้นผิวชิ้นงาน นั้นเป็นแบบ Node flow programming ซึ่งอยู่บนพื้นฐานของระบบปฏิบัติการหุ่นยนต์ (Robot Operating System : ROS) หลักการของ Node flow programming คือแต่ละโหนด (Node) หรือกล่องคำสั่งจะเป็นส่วนที่ทำการสร้างการเปลี่ยนแปลงให้กับข้อมูลที่ส่งเข้ามา ซึ่งในที่นี้เราเรียกว่าการไหลของข้อมูล (Data flow) ซึ่งอยู่ในรูปแบบของ JSON format ในแต่ละกล่องคำสั่ง หรือ Node จะเป็น C++ object ที่จะจัดการกับการไหลของข้อมูล และส่งออกไปเป็นเอาท์พุทต่อๆไป CiRACORE จะมี Nodes ที่จัดเป็นหมวดหมู่สำหรับงานต่างๆ โดยเริ่มจาก flow control and manipulation, CiRA AI และ I/O & communication ในกระบวนการขัดนั้น ใช้กล่องคำสั่ง Button Run เพื่อเริ่มการทำงาน และกระบวนการขัดจะใช้อีกกล่องคำสั่ง BezierGrind เพื่อสั่งงานและปรับค่าพารามิเตอร์ต่างๆสำหรับงานขัด ดังแสดงในรูปที่ 2

รูปที่ 2: แสดงการใช้งานกล่องคำสั่งงานให้หุ่นยนต์ขัดชิ้นงาน

การปรับค่าพารามิเตอร์สำหรับการขัดพื้นผิว

  1. ผู้ใช้งานสามารถ Browse หาไฟล์ที่ต้องการนำมาสร้างเส้นทางการเคลื่อนที่ให้หุ่นยนต์เคลื่อนไปขัดพื้นผิวชิ้นงาน ที่ตำแหน่งมุมขวาบน CAD file Path 
  2. การตั้งค่าตำแหน่งของชิ้นงานสามารถทำได้โดยใช้ปลายแขนเป็นตัวระบุการตั้งค่า ซึ่งสามารถทำได้โดยนำปลายแขนหุ่นยนต์ไปสัมผัสที่จุดของชิ้นงานเพื่อใช้ในการคำนวณหาตำแหน่งเริ่มต้นของชิ้นงาน
  3. พารามิเตอร์การขัด ประกอบด้วย 3.1) grind disk width: ปรับขนาดหัวขัดชิ้นงาน 3.2) covering percent: เปอร์เซ็นต์ที่แสดงความถี่ของการขัด เพิ่มจำนวนจุดการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์ให้มีจำนวนมากขึ้น 3.3) extrication radius: รัศมีที่หัวขัดยกขึ้นเหนือชิ้นงาน เพื่อไปขัดในแนวขัดถัดไป และ 3.4) lean angle:  ปรับมุมเอียงระหว่างหัวขัดกับชิ้นงาน มีหน่วยเป็นองศา
  4. Tools Offset เป็นการปรับตำแหน่งระหว่างชิ้นงานกับหุ่นยนต์ เป็นการชดเชยระยะห่างและมุม

รูปที่ 3: แสดงหน้าต่างการปรับค่าพารามิเตอร์ในกล่องคำสั่งหุ่นยนต์ขัดชิ้นงาน

        ในการขัดพื้นผิวชิ้นงาน ความเร็วและความเร่งที่สม่ำเสมอในการขัดชิ้นงานมีความสำคัญ ดังแสดงในรูปที่ 4 ส่งผลให้พื้นผิวชิ้นงานที่ถูกขัดราบเรียบสม่ำเสมอ  ดังรูปที่แสดง ช่วงเวลาของการขัดและช่วงยก ซึ่งจากราฟจะเห็นว่าช่วงการขัดความเร็วค่อนข้างสม่ำเสมอ ในขณะที่ความเร็วในช่วงไม่ได้ขัดหรือช่วงยกจะมีการเปลี่ยนแปลงความเร็วซึ่งเป็นช่วงที่ไม่มีผลต่อพื้นผิวชิ้นงาน

รูปที่ 4: แสดงความเร็วในช่วงการขัดพื้นผิวชิ้นงานและในช่วงที่ขัดสุดทางแล้วหุ่นยนต์ยกขึ้น

        สำหรับโครงการวิจัยนี้ทางทีมวิจัยได้พัฒนากล่องควบคุม (Motion Controller) สำหรับควบคุมหุ่นยนต์ 6 แกนเพื่องานขัดพื้นผิวที่สามารถติดต่อกับระบบปฏิบัติการหุ่นยนต์อุตสาหกรรม (ROS Industrial) โดยได้คุณสมบัติใกล้เคียงของเดิมเท่ากับ ±0.05 mm (Repeatability) อีกทั้งได้พัฒนาโปรแกรมการขัดพื้นผิวชิ้นงาน CiRA Polishing ซึ่งเป็น GUI สำหรับ สร้าง path planning จาก point cloud และทำการควบคุมหุ่นยนต์ตามเส้นทางที่ได้วางแผนไว้ โดยรันอยู่บนแพลตฟอร์ม CiRACORE และได้ผลประเมินความสามารถหุ่นยนต์ในการขัดพื้นผิวชิ้นงานโดยมีความเรียบเฉลี่ย ±500 µm เมื่อเทียบกับ CAD ไฟล์ที่ รวมทั้งสามารถควบคุมความเร็วและความเร่งของหุ่นยนต์เพื่อความเรียบในการขัดพื้นผิวชิ้นงานได้เป็นอย่างดี

ติดต่อสอบถาม

นางสาวสุจิรา ศักดิ์พรหม
สังกัด งานบริหารโครงการความร่วมมือภาครัฐและเอกชน
สายงานบริหารการวิจัยและพัฒนา (RDI Management)

ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ:

The post ต้นแบบหุ่นยนต์ขัดชิ้นงาน appeared first on NAC2021.

]]>
MuEye RoboKid : มิวอายโรโบคิด http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/12/na11-mueye-robokid/ Fri, 12 Mar 2021 14:19:45 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=13411 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ดร.อัชฌา กอบวิทยา ทีมวิจัยเทคโนโลยีโฟโทนิกส์ (PHT) กลุ่มวิจัยอุปกรณ์สเปกโทรสโกปีและเซนเซอร์ (SSDRG) ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ กล้องจุลทรรศน์เป็นอุปกรณ์ที่สำคัญในการศึกษารายละเอียดของสิ่งของเล็กๆ มีประโยชน์ทั้งในวงการการศึกษาและอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น การดูสิ่งสิ่งมีชีวิต/วัตถุขนาดเล็กในวิชาวิทยาศาสตร์ ใช้ในการตรวจความบกพร่องของชิ้นงาน รอยแตกขนาดเล็ก หรือสิ่งปลอมปนต่างๆ แต่กล้องจุลทรรศน์ส่วนใหญ่ ต้องติดกล้องถ่ายภาพเพิ่ม ทำให้ราคาเพิ่มสูงขึ้น มิวอายโรโบคิด (MuEye ROBOKid) เป็นกล้องจุลทรรศน์ขนาดเล็กที่ประยุกต์มาจากเลนส์มิวอายแบบเดิมที่ทำจากเลนส์พอลิเมอร์ ใช้ติดกับกล้องถ่ายภาพพกพาอย่างแท็บเล็ตหรือสมาร์ทโฟน และใช้งานเป็นกล้องจุลทรรศน์พกพา มิวอายโรโบคิดสามารถแสดงภาพผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ สามารถปรับระยะโฟกัส หรือเลื่อนตำแหน่งของวัตถุตัวอย่างได้โดยสั่งการผ่านบอร์ด KidBright ทำให้การใช้งานกล้องจุลทรรศน์มีความสะดวกและสนุกมากขึ้น คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี มีฟังก์ชั่นเลื่อนหาระยะภาพคมชัดแบบอัตโนมัติ ควบคุมความสว่างของแหล่งกำเนิดแสงด้วยคิดไบร์ท เลื่อนตำแหน่งด้วยความละเอียดถึง 25 ไมครอน/Step ด้วยบอร์ดคิดไบร์ท สแกนถ่ายภาพต่อเนื่องทั้งแผ่นสไลด์ เพื่อเก็บรายละเอียดในแต่ละตำแหน่ง สามารถกดเรียกหาตำแหน่งของวัตถุได้ ทำให้การใช้งานง่ายและสนุกมากขึ้น เลนส์พอลิเมอร์ ทนทานต่อเชื้อรา บรรจุในแผ่นพลาสติก เปลี่ยนกำลังขยายได้ง่าย การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี การเรียนการสอนในและนอกสถานที่ การตรวจสอบวัสดุปนเปื้อนขนาดเล็กเบื้องต้น เป็นต้น การแบ่งปันข้อมูลที่ได้ เกิดการเรียนรู้ระหว่างกัน และ การพัฒนาแอพลิเคชั่นโปรแกรมที่เกี่ยวข้อง การเพิ่มประสิทธิภาพ […]

The post MuEye RoboKid : มิวอายโรโบคิด appeared first on NAC2021.

]]>

MuEye RoboKid : มิวอายโรโบคิด

MuEye RoboKid : มิวอายโรโบคิด

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ดร.อัชฌา กอบวิทยา
ทีมวิจัยเทคโนโลยีโฟโทนิกส์ (PHT)
กลุ่มวิจัยอุปกรณ์สเปกโทรสโกปีและเซนเซอร์ (SSDRG)
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ

               กล้องจุลทรรศน์เป็นอุปกรณ์ที่สำคัญในการศึกษารายละเอียดของสิ่งของเล็กๆ มีประโยชน์ทั้งในวงการการศึกษาและอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น การดูสิ่งสิ่งมีชีวิต/วัตถุขนาดเล็กในวิชาวิทยาศาสตร์ ใช้ในการตรวจความบกพร่องของชิ้นงาน รอยแตกขนาดเล็ก หรือสิ่งปลอมปนต่างๆ แต่กล้องจุลทรรศน์ส่วนใหญ่ ต้องติดกล้องถ่ายภาพเพิ่ม ทำให้ราคาเพิ่มสูงขึ้น

       มิวอายโรโบคิด (MuEye ROBOKid) เป็นกล้องจุลทรรศน์ขนาดเล็กที่ประยุกต์มาจากเลนส์มิวอายแบบเดิมที่ทำจากเลนส์พอลิเมอร์ ใช้ติดกับกล้องถ่ายภาพพกพาอย่างแท็บเล็ตหรือสมาร์ทโฟน และใช้งานเป็นกล้องจุลทรรศน์พกพา มิวอายโรโบคิดสามารถแสดงภาพผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ สามารถปรับระยะโฟกัส หรือเลื่อนตำแหน่งของวัตถุตัวอย่างได้โดยสั่งการผ่านบอร์ด KidBright ทำให้การใช้งานกล้องจุลทรรศน์มีความสะดวกและสนุกมากขึ้น

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

  • มีฟังก์ชั่นเลื่อนหาระยะภาพคมชัดแบบอัตโนมัติ
  • ควบคุมความสว่างของแหล่งกำเนิดแสงด้วยคิดไบร์ท
  • เลื่อนตำแหน่งด้วยความละเอียดถึง 25 ไมครอน/Step ด้วยบอร์ดคิดไบร์ท
  • สแกนถ่ายภาพต่อเนื่องทั้งแผ่นสไลด์ เพื่อเก็บรายละเอียดในแต่ละตำแหน่ง
  • สามารถกดเรียกหาตำแหน่งของวัตถุได้ ทำให้การใช้งานง่ายและสนุกมากขึ้น
  • เลนส์พอลิเมอร์ ทนทานต่อเชื้อรา บรรจุในแผ่นพลาสติก เปลี่ยนกำลังขยายได้ง่าย

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

  • การเรียนการสอนในและนอกสถานที่ 
  • การตรวจสอบวัสดุปนเปื้อนขนาดเล็กเบื้องต้น เป็นต้น 
  • การแบ่งปันข้อมูลที่ได้ เกิดการเรียนรู้ระหว่างกัน และ การพัฒนาแอพลิเคชั่นโปรแกรมที่เกี่ยวข้อง
  • การเพิ่มประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการเรียนรู้

สถานภาพของผลงาน: สิทธิบัตร 6 ฉบับ

  • กระบวนการผลิตเลนส์แบบยืดหยุ่นจากวัสดุพอลิเมอร์ เลขที่คำขอ 1401005905
  • กระบวนการผลิตเลนส์โดยอาศัยแรงตึงผิวที่ชั้นรอยต่อของของเหลว เลขที่คำขอ 1401005695
  • กระบวนการผลิตเลนส์จากพอลิเมอร์ เลขที่คำขอ 1501004712
  • กรรมวิธีการขึ้นรูปชิ้นงานด้วยความร้อนแบบไม่ใช้แม่พิมพ์ เลขที่คำขอ 1501004969
  • กระบวนการเพิ่มแรงยึดติด เลขที่คำขอ 1501003211
  • เลนส์ขยาย เลขที่คำขอ 1502002635

กลุ่มเป้าหมาย

  • นักเรียน นักศึกษา บุคคลทั่วไป หรือ งานที่ต้องเก็บตัวอย่างจากภาคสนามมาวิเคราะห์ในห้องแล็บ
  • หน่วยงานภาครัฐ เช่น สพฐ. กระทรวงศึกษาธิการ
  • ผู้ประกอบการที่สนใจในนวัตกรรมใหม่ๆ

วิธีโอสาธิตการใช้งาน MuEye Robokid

ติดต่อสอบถาม

ศศิน เชาวนกุล
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post MuEye RoboKid : มิวอายโรโบคิด appeared first on NAC2021.

]]>
ผลิตภัณฑ์สำหรับเส้นผมที่มีส่วนประกอบของอนุภาคใบหมี่และบัวบก http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/12/na02-hair-care/ Fri, 12 Mar 2021 07:25:01 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=13199 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC) ที่มาและความสำคัญ จากการศึกษาเบื้องต้นของฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดใบหมี่ ซึ่งเป็นสมุนไพรธรรมชาติที่ใช้ทั่วไปในการผลิตแชมพูของภูมิปัญญาชาวบ้าน พบว่า สารสกัดใบหมี่มีความสามารถในการกระตุ้นการเจริญเติบโตของเซลล์รากผม นอกจากนี้ สาเหตุส่วนหนึ่งของอาการผมร่วงอาจมาจากการอักเสบของหนังศีรษะ ดังนั้นการนำสารสกัดธรรมชาติที่มีฤทธิ์ในการต้านการอักเสบของผิวหนัง เช่น ใบบัวบก มาเป็นสารออกฤทธิ์ในผลิตภัณฑ์สำหรับผม จึงเป็นทางเลือกที่ดีอย่างหนึ่ง “แม้สารสกัดจากพืชสมุนไพรไทยจะมีคุณสมบัติที่ดีมาก แต่ปัญหาของการทำผลิตภัณฑ์จากสารเหล่านี้คือ ความคงตัวของผลิตภัณฑ์ เนื่องจากความไม่เสถียรของสารสกัด ทำให้เกิดการตกตะกอน เปลี่ยนสี หลังจากการผลิต รวมถึงอาจติดเชื้อ ทำให้ผลิตภัณฑ์เสียหาย” โครงการวิจัย “อนุภาคสารสกัดใบหมี่และบัวบกสำหรับผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง” จึงเกิดขึ้น โดย ดร.มัตถกาและทีมวิจัยของนาโนเทค พัฒนาอนุภาคลิโพนิโอโซมของสารสกัดใบหมี่ บัวบก และใบหมี่ผสมบัวบก จากการพัฒนาระบบห่อหุ้มที่ช่วยเพิ่มความคงตัวของสารสกัด พร้อมทั้งพัฒนาคุณสมบัติทางกายภาพเชิงเคมี เพื่อง่ายต่อการนำไปใช้ในการขึ้นสูตรตำรับผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง และมีความปลอดภัย หลังจาก พัฒนาให้สารสกัดมีความคงตัว โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงของสี ไม่มีการเจริญเติบโตของเชื้อ มีค่า pH ที่เหมาะสมกับเครื่องสำอาง มีการกระจายตัวที่ดีในสูตรตำรับ รวมถึงผ่านการทดสอบการระคายเคืองในอาสาสมัคร นักวิจัยพัฒนาต้นแบบแชมพู ครีมนวดผม และแฮร์โทนิค จากสารสกัดใบหมี่ผสมบัวบก ที่ปราศจากพาราเบน แอลกอฮอลล์ และสารก่อความระคายเคืองอื่นๆ พร้อมยื่นจดทรัพย์สินทางปัญญา […]

The post ผลิตภัณฑ์สำหรับเส้นผมที่มีส่วนประกอบของอนุภาคใบหมี่และบัวบก appeared first on NAC2021.

]]>

ผลิตภัณฑ์สำหรับเส้นผมที่มีส่วนประกอบของอนุภาคใบหมี่และบัวบก

ผลิตภัณฑ์สำหรับเส้นผมที่มีส่วนประกอบของอนุภาคใบหมี่และบัวบก

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC)

ที่มาและความสำคัญ

        จากการศึกษาเบื้องต้นของฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดใบหมี่ ซึ่งเป็นสมุนไพรธรรมชาติที่ใช้ทั่วไปในการผลิตแชมพูของภูมิปัญญาชาวบ้าน พบว่า สารสกัดใบหมี่มีความสามารถในการกระตุ้นการเจริญเติบโตของเซลล์รากผม นอกจากนี้ สาเหตุส่วนหนึ่งของอาการผมร่วงอาจมาจากการอักเสบของหนังศีรษะ ดังนั้นการนำสารสกัดธรรมชาติที่มีฤทธิ์ในการต้านการอักเสบของผิวหนัง เช่น ใบบัวบก มาเป็นสารออกฤทธิ์ในผลิตภัณฑ์สำหรับผม จึงเป็นทางเลือกที่ดีอย่างหนึ่ง

        “แม้สารสกัดจากพืชสมุนไพรไทยจะมีคุณสมบัติที่ดีมาก แต่ปัญหาของการทำผลิตภัณฑ์จากสารเหล่านี้คือ ความคงตัวของผลิตภัณฑ์ เนื่องจากความไม่เสถียรของสารสกัด ทำให้เกิดการตกตะกอน เปลี่ยนสี หลังจากการผลิต รวมถึงอาจติดเชื้อ ทำให้ผลิตภัณฑ์เสียหาย”

        โครงการวิจัย “อนุภาคสารสกัดใบหมี่และบัวบกสำหรับผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง” จึงเกิดขึ้น โดย ดร.มัตถกาและทีมวิจัยของนาโนเทค พัฒนาอนุภาคลิโพนิโอโซมของสารสกัดใบหมี่ บัวบก และใบหมี่ผสมบัวบก จากการพัฒนาระบบห่อหุ้มที่ช่วยเพิ่มความคงตัวของสารสกัด พร้อมทั้งพัฒนาคุณสมบัติทางกายภาพเชิงเคมี เพื่อง่ายต่อการนำไปใช้ในการขึ้นสูตรตำรับผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง และมีความปลอดภัย

        หลังจาก พัฒนาให้สารสกัดมีความคงตัว โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงของสี ไม่มีการเจริญเติบโตของเชื้อ มีค่า pH ที่เหมาะสมกับเครื่องสำอาง มีการกระจายตัวที่ดีในสูตรตำรับ รวมถึงผ่านการทดสอบการระคายเคืองในอาสาสมัคร นักวิจัยพัฒนาต้นแบบแชมพู ครีมนวดผม และแฮร์โทนิค จากสารสกัดใบหมี่ผสมบัวบก ที่ปราศจากพาราเบน แอลกอฮอลล์ และสารก่อความระคายเคืองอื่นๆ พร้อมยื่นจดทรัพย์สินทางปัญญา

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

      • อนุภาคลิโพนิโอโซมของสารสกัดใบหมี่ บัวบก เป็นการห่อหุ้มสารสกัดสมุนไพรด้วยอนุภาคนาโน ทำให้ความคงตัวเพิ่มสูงขึ้น ลดปัญหา สี กลิ่น การตกตะกอนที่ไม่ถูกใจ
ผู้ใช้
      • ส่วนประกอบที่มีในผลิตภัณฑ์นี้ ปราศจากพาราเบน แอลกอฮอลล์ สารแต่งสีและกลิ่น และสารก่อความระคายเคืองอื่นๆ ซึ่งผ่านการทดสอบการระคายเคืองเป็นที่เรียบร้อย
      • ช่วยเพิ่มความคงตัวของสารสกัดใบหมี่และบัวบกในผลิตภัณฑ์แฮร์โทนิค ทำให้สามารถใช้ประโยชน์ของสารสำคัญได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยผลจากการทดสอบในระดับห้องปฏิบัติการกับเซลล์ผิวหนังและเซลล์รากผมพบว่า มีฤทธิ์ในการกระตุ้นการเจริญเติบโตของเซลล์รากผมได้ดีเทียบเท่ากับยารักษาอาการผมร่วงที่มีอยู่ในท้องตลาด และลดการอักเสบในเซลล์รากผมทำให้ช่วยกระตุ้นเซลล์รากผมได้ดีกว่า 20-30% เมื่อเทียบกับสารสกัดแบบดั้งเดิม

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

        เทคโนโลยีนาโนเอนแคปซูเลชั่นสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในอุตสาหกรรมอาหาร และอุตสาหกรรมเครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์ดูแลสุขภาพ โดยเทคโนโลยีการทำอนุภาคนาโนห่อหุ้มสารสกัดใบหมี่และบัวบกนี้ สามารถพัฒนาสารสกัดดั่งเดิมเพื่อนำไปเป็นส่วนประกอบหลักในผลิตภัฑฑ์ดูแลเส้นผมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สถานภาพของผลงาน

        คำขออนุสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 1803001112 เรื่อง วิธีการสกัดสารสำคัญจากต้นหมี่ และอนุภาคนาโนของสารสกัดจากต้นหมี่และต้นบัวบก ยื่นคำขอวันที่ 11 พ.ค. 2561

กลุ่มเป้าหมาย

        • ผู้ผลิตสารสกัดจากธรรมชาติ
        • ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์สำหรับเส้นผม
        • ผู้ผลิตเครื่องสำอาง

นักวิจัย

        ดร.มัตถกา คงขาว
        ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC)

ติดต่อสอบถาม

สโรชา เพ็งศรี
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post ผลิตภัณฑ์สำหรับเส้นผมที่มีส่วนประกอบของอนุภาคใบหมี่และบัวบก appeared first on NAC2021.

]]>
นาโนเซ็นเซอร์เพื่อวิเคราะห์สารปนเปื้อนในแหล่งน้ำอุปโภค บริโภค ที่เหนี่ยวนำให้เกิดโรคไตเรื้อรังในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/12/na32-nanosensor/ Fri, 12 Mar 2021 07:03:13 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=12972 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย กลุ่มวิจัยวัสดุตอบสนองและเซ็นเซอร์ระดับนาโน ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC) ความสำคัญของงานวิจัย : เป็นนาโนเซ็นเซอร์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการวิเคราะห์สารปนเปื้อนที่เหนี่ยวนำให้เกิดโรคไตเรื้อรัง ซึ่งได้แก่ เหล็ก และฟลูออไรด์ รวมทั้งยาปราบศัตรูพืช เช่น พาราควอท และไกลโฟเสท โดยนาโนเซ็นเชอร์ดังกล่าวอยู่ในระหว่างการนำไปใช้ในพื้นที่ที่มีอัตราการเกิดโรคไตเรื้อรังสูง ซึ่งได้แก่ พื้นที่โดยรอบเขื่อนอุบลรัตน์ และลำน้ำพอง ในเขตอำเภออุบลรัตน์ และอำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือเพื่อสร้างความตระหนัก และเป็นส่วนหนึ่งในการควบคุมคุณภาพน้ำให้มีมาตรฐานมากยิ่งขึ้น เพื่อลดและชะลออัตราการเกิดโรคไตเรื้อรังในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จุดเด่นของงานวิจัย/เทคโนโลยี : เป็นการประยุกต์ใช้นาโนเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์วัสดุนาโนชนิดพิเศษที่จับจำเพาะได้กับสารปนเปื้อนที่ต้องการตรวจวิเคราะห์ และให้สัญญาณที่สามารถวิเคราะห์ผลได้อย่างมีประสิทธิภาพและแม่นยำ ร่วมกับการใช้เทคโนโลยีการพัฒนาชุดตรวจอย่างง่ายจนเกิดเป็นนาโนเซ็นเซอร์เพื่อวิเคราะห์สารปนเปื้อนในแหล่งน้ำแบบพกพา ที่มีความไว และความจำเพาะสูง ติดต่อสอบถาม ฝ่ายธุรกิจนวัตกรรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทรศัพท์: 02 564 7100 E-mail: bitt@nanotec.or.th เว็บไซต์: www.nanotec.or.th ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ: โปสเตอร์ประกอบนิทรรศการ การตรวจวัดคุณภาพน้ำในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงโรคไตเรื้อรังจากการปนเปื้อนในแหล่งน้ำ

The post นาโนเซ็นเซอร์เพื่อวิเคราะห์สารปนเปื้อนในแหล่งน้ำอุปโภค บริโภค ที่เหนี่ยวนำให้เกิดโรคไตเรื้อรังในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น appeared first on NAC2021.

]]>

นาโนเซ็นเซอร์เพื่อวิเคราะห์สารปนเปื้อนในแหล่งน้ำอุปโภค บริโภค ที่เหนี่ยวนำให้เกิดโรคไตเรื้อรังในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น

นาโนเซ็นเซอร์เพื่อวิเคราะห์สารปนเปื้อนในแหล่งน้ำอุปโภค บริโภค ที่เหนี่ยวนำให้เกิดโรคไตเรื้อรังในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

กลุ่มวิจัยวัสดุตอบสนองและเซ็นเซอร์ระดับนาโน
ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC)

ความสำคัญของงานวิจัย :

         เป็นนาโนเซ็นเซอร์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการวิเคราะห์สารปนเปื้อนที่เหนี่ยวนำให้เกิดโรคไตเรื้อรัง ซึ่งได้แก่ เหล็ก และฟลูออไรด์ รวมทั้งยาปราบศัตรูพืช เช่น พาราควอท และไกลโฟเสท โดยนาโนเซ็นเชอร์ดังกล่าวอยู่ในระหว่างการนำไปใช้ในพื้นที่ที่มีอัตราการเกิดโรคไตเรื้อรังสูง ซึ่งได้แก่ พื้นที่โดยรอบเขื่อนอุบลรัตน์ และลำน้ำพอง ในเขตอำเภออุบลรัตน์ และอำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือเพื่อสร้างความตระหนัก และเป็นส่วนหนึ่งในการควบคุมคุณภาพน้ำให้มีมาตรฐานมากยิ่งขึ้น เพื่อลดและชะลออัตราการเกิดโรคไตเรื้อรังในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

จุดเด่นของงานวิจัย/เทคโนโลยี :

         เป็นการประยุกต์ใช้นาโนเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์วัสดุนาโนชนิดพิเศษที่จับจำเพาะได้กับสารปนเปื้อนที่ต้องการตรวจวิเคราะห์ และให้สัญญาณที่สามารถวิเคราะห์ผลได้อย่างมีประสิทธิภาพและแม่นยำ ร่วมกับการใช้เทคโนโลยีการพัฒนาชุดตรวจอย่างง่ายจนเกิดเป็นนาโนเซ็นเซอร์เพื่อวิเคราะห์สารปนเปื้อนในแหล่งน้ำแบบพกพา ที่มีความไว และความจำเพาะสูง

ติดต่อสอบถาม

ฝ่ายธุรกิจนวัตกรรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ

The post นาโนเซ็นเซอร์เพื่อวิเคราะห์สารปนเปื้อนในแหล่งน้ำอุปโภค บริโภค ที่เหนี่ยวนำให้เกิดโรคไตเรื้อรังในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น appeared first on NAC2021.

]]>
เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาฟลูออไรด์ปนเปื้อนในน้ำอุปโภคบริโภคสำหรับพื้นที่ชายขอบ http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/12/na30-fluoride/ Fri, 12 Mar 2021 06:43:20 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=12999 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ทีมวิจัยนาโนเทคโนโลยีเพื่อสิ่งเเวดล้อม ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC) ฟันตกกระ (dental fluorosis) เกิดจากการได้รับฟลูออไรด์ เข้าสู่ร่างกายมากเกินไป ฟลูออไรด์ส่วนใหญ่มาจากน้ำที่ดื่ม ที่มา : McGrady et al. BMC Oral Health2012, 12:33 ความสำคัญของงานวิจัย : ฟลูออไรด์ เป็นหนึ่งในองค์ประกอบของแร่ธาตุในชั้นหิน ทำให้ในแหล่งน้ำตามธรรมชาติมีฟลูออไรด์ละลายอยู่ ซึ่งโดยปกติแล้วแหล่งน้ำบาดาลส่วนใหญ่มักมีค่าความเข้มข้นของฟลูออไรด์สูงกว่าแหล่งน้ำผิวดิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ของแร่ธาตุและชั้นหินต่างๆ ฟลูออไรด์ถูกนำมาใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวางในการรักษาสุขภาพช่องปาก อย่างไรก็ตามการได้รับความเข้มข้นของฟลูออไรด์ที่สูงติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน ก่อให้โรคฟลูออโรซีส (Fluorosis) ซึ่งอาการที่พบได้บ่อยที่สุดของโรคดังกล่าวคือ การทำให้ฟันตกกระและทำลายโครงสร้างของฟัน ขณะที่การรับฟลูออไรด์ปริมาณมากเป็นระยะเวลานานอาจส่งผลให้มีการสะสมของฟลูออไรด์ในกระดูก ทำให้ขามีลักษณะพิการที่เรียกว่า ขาโกง (Crippling skeletal fluorosis) ทั้งนี้อาการที่เกิดขึ้นเป็นอาการที่ไม่สามารถรักษาให้กลับมาเหมือนเดิมได้ รวมทั้งส่งผลต่อลดต่อพัฒนาการทางสมองในเด็ก ภูมิคุ้มกันของร่างกายต่ำ เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด และความเสี่ยงที่อาจจะเกิดโรคชนิดอื่นๆได้ ปริมาณฟลูออไรด์ในน้ำบริโภคที่องค์การอนามัยโลกแนะนำคือ 0.7 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยค่าอนุโลมสูงสุด ไม่เกิน 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร จุดเด่นของงานวิจัย/เทคโนโลยี: โครงการความร่วมมือระหว่างทีมวิจัยนาโนเทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดล้อม ศูนย์นาโนเทคโนโลยีและภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม […]

The post เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาฟลูออไรด์ปนเปื้อนในน้ำอุปโภคบริโภคสำหรับพื้นที่ชายขอบ appeared first on NAC2021.

]]>

เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาฟลูออไรด์ปนเปื้อนในน้ำอุปโภคบริโภคสำหรับพื้นที่ชายขอบ

เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาฟลูออไรด์ปนเปื้อนในน้ำอุปโภคบริโภคสำหรับพื้นที่ชายขอบ

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ทีมวิจัยนาโนเทคโนโลยีเพื่อสิ่งเเวดล้อม
ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC)

ฟันตกกระ (dental fluorosis) เกิดจากการได้รับฟลูออไรด์
เข้าสู่ร่างกายมากเกินไป ฟลูออไรด์ส่วนใหญ่มาจากน้ำที่ดื่ม
ที่มา : McGrady et al. BMC Oral Health2012, 12:33

ความสำคัญของงานวิจัย :

       ฟลูออไรด์ เป็นหนึ่งในองค์ประกอบของแร่ธาตุในชั้นหิน ทำให้ในแหล่งน้ำตามธรรมชาติมีฟลูออไรด์ละลายอยู่ ซึ่งโดยปกติแล้วแหล่งน้ำบาดาลส่วนใหญ่มักมีค่าความเข้มข้นของฟลูออไรด์สูงกว่าแหล่งน้ำผิวดิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ของแร่ธาตุและชั้นหินต่างๆ ฟลูออไรด์ถูกนำมาใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวางในการรักษาสุขภาพช่องปาก อย่างไรก็ตามการได้รับความเข้มข้นของฟลูออไรด์ที่สูงติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน ก่อให้โรคฟลูออโรซีส (Fluorosis) ซึ่งอาการที่พบได้บ่อยที่สุดของโรคดังกล่าวคือ การทำให้ฟันตกกระและทำลายโครงสร้างของฟัน ขณะที่การรับฟลูออไรด์ปริมาณมากเป็นระยะเวลานานอาจส่งผลให้มีการสะสมของฟลูออไรด์ในกระดูก ทำให้ขามีลักษณะพิการที่เรียกว่า ขาโกง (Crippling skeletal fluorosis) ทั้งนี้อาการที่เกิดขึ้นเป็นอาการที่ไม่สามารถรักษาให้กลับมาเหมือนเดิมได้ รวมทั้งส่งผลต่อลดต่อพัฒนาการทางสมองในเด็ก ภูมิคุ้มกันของร่างกายต่ำ เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด และความเสี่ยงที่อาจจะเกิดโรคชนิดอื่นๆได้ ปริมาณฟลูออไรด์ในน้ำบริโภคที่องค์การอนามัยโลกแนะนำคือ 0.7 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยค่าอนุโลมสูงสุด ไม่เกิน 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร

จุดเด่นของงานวิจัย/เทคโนโลยี:

         โครงการความร่วมมือระหว่างทีมวิจัยนาโนเทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดล้อม ศูนย์นาโนเทคโนโลยีและภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาฟลูออไรด์ในน้ำบาดาลสำหรับบริโภคอย่างยั่งยืน ดังนี้

       1.    พัฒนาวัสดุกรองจากถ่านกระดูกสัตว์ ซึ่งเป็นวัสดุเหลือทิ้ง มีมูลค่าไม่สูง และชุมชนสามารถพัฒนาวัสดุกรองได้เอง เนื่องจากจากโครงสร้างทางเคมีของกระดูกที่ประกอบด้วยไฮดรอกซีอะพาไทต์ เมื่อผ่านกระบวนการเผาในสภาวะที่เหมาะสมจะได้วัสดุกรองที่สามารถกำจัดฟลูออไรด์ได้ดี

       2. ระบบผลิตน้ำประปาหมู่บ้านที่มีต้นทุนต่ำ บำรุงรักษาง่าย โดยออกแบบระบบกรองผสมผสานที่ประกอบด้วยถ่านกระดูกสัตว์และถ่านกัมมันต์เพื่อปรับปรุงคุณภาพน้ำบาดาลให้มีคุณภาพตามมาตรฐานน้ำบาดาลสำหรับบริโภค โดยระบบดังกล่าวนำไปประยุกต์ใช้ที่ หมู่บ้านบ้านใหม่ในฝัน ตำบลสะเนียน อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

ระบบกรอง ติดตั้งที่ ต.สะเนียน อ.เมือง จ.น่าน
(เพิ่มเติมเข้าระบบประปาหมู่บ้าน)

ติดต่อสอบถาม

ฝ่ายธุรกิจนวัตกรรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ

The post เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาฟลูออไรด์ปนเปื้อนในน้ำอุปโภคบริโภคสำหรับพื้นที่ชายขอบ appeared first on NAC2021.

]]>
โครงการจัดการน้ำอุปโภคบริโภคให้แก่โรงเรียน ตชด. และชุมชนชายขอบ http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/10/na31-waterfliter/ Wed, 10 Mar 2021 04:25:08 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=11717 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ทีมวิจัยนาโนเทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดล้อมศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC)        โครงการนี้เป็นความร่วมมือในการบริหารจัดการน้ำสำหรับอุปโภคบริโภค ภายใต้การดำเนินการของมูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ณ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านเทพภูเงิน ตำบลน้ำโสม อำเภอน้ำโสม จังหวัดอุดรธานี ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ไม่มีไฟฟ้า, ขาดการเข้าถึงน้ำอุปโภคบริโภคที่สะอาด และเป็นพื้นที่เกษตรกรรมที่มีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ทำให้ชาวบ้านกังวลกับการปนเปื้อนของสารเคมีในแหล่งน้ำผิวดินของชุมชน โดยเป็นการทำงานแบบบูรณาการร่วมกันของหลายหน่วยงาน ทั้งในและนอกพื้นที่จังหวัดอุดรธานี ได้แก่ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ, ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ, กรมทรัพยากรน้ำบาดาล, สำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 จังหวัดอุดรธานี, โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านเทพภูเงิน, องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) และชุมชนบ้านเทพภูเงิน เป็นต้น ระบบผลิตน้ำดื่มสะอาด ที่ติดตั้งภายในบ้านน้ำดื่มพลังงานแสงอาทิตย์ บ้านน้ำดื่มพลังงานแสงอาทิตย์ระบบ UF กำลังผลิต 250 ลิตรต่อชั่วโมง ณ โรงเรียนตำรวจตะเวณชายแดนบ้านเทพภูเงิน จังหวัดอุดรธานี จุดเด่นของงานวิจัย/เทคโนโลยี        1. เป็นการนำพลังงานแสงอาทิตย์เข้ามาใช้ในการช่วยบริหารจัดการน้ำในพื้นที่ ร่วมกับระบบกรองน้ำดื่มที่ใช้พลังงานต่ำ […]

The post โครงการจัดการน้ำอุปโภคบริโภคให้แก่โรงเรียน ตชด. และชุมชนชายขอบ appeared first on NAC2021.

]]>

โครงการจัดการน้ำอุปโภคบริโภคให้แก่โรงเรียน ตชด. และชุมชนชายขอบ

โครงการจัดการน้ำอุปโภคบริโภคให้แก่โรงเรียน ตชด. และชุมชนชายขอบ

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ทีมวิจัยนาโนเทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดล้อม
ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC)

       โครงการนี้เป็นความร่วมมือในการบริหารจัดการน้ำสำหรับอุปโภคบริโภค ภายใต้การดำเนินการของมูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ณ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านเทพภูเงิน ตำบลน้ำโสม อำเภอน้ำโสม จังหวัดอุดรธานี ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ไม่มีไฟฟ้า, ขาดการเข้าถึงน้ำอุปโภคบริโภคที่สะอาด และเป็นพื้นที่เกษตรกรรมที่มีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ทำให้ชาวบ้านกังวลกับการปนเปื้อนของสารเคมีในแหล่งน้ำผิวดินของชุมชน โดยเป็นการทำงานแบบบูรณาการร่วมกันของหลายหน่วยงาน ทั้งในและนอกพื้นที่จังหวัดอุดรธานี ได้แก่ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ, ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ, กรมทรัพยากรน้ำบาดาล, สำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 จังหวัดอุดรธานี, โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านเทพภูเงิน, องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) และชุมชนบ้านเทพภูเงิน เป็นต้น

ระบบผลิตน้ำดื่มสะอาด ที่ติดตั้งภายในบ้านน้ำดื่มพลังงานแสงอาทิตย์

บ้านน้ำดื่มพลังงานแสงอาทิตย์ระบบ UF กำลังผลิต 250 ลิตรต่อชั่วโมง

ณ โรงเรียนตำรวจตะเวณชายแดนบ้านเทพภูเงิน จังหวัดอุดรธานี

จุดเด่นของงานวิจัย/เทคโนโลยี

       1. เป็นการนำพลังงานแสงอาทิตย์เข้ามาใช้ในการช่วยบริหารจัดการน้ำในพื้นที่ ร่วมกับระบบกรองน้ำดื่มที่ใช้พลังงานต่ำ โดยพัฒนาเป็นต้นแบบบ้านน้ำดื่มพลังงานแสงอาทิตย์ ร่วมกับกรมทรัพยากรน้ำบาดาล สำหรับน้ำบาดาลที่มีสารละลายในน้ำอยู่น้อย (total dissolved solid < 500 mg/L)  โดยการใช้เทคโนโลยีการกรองด้วยอัลตร้าฟิวเตรชั่น (ultrafiltration, UF)  ซึ่งเทคโนโลยี UF เป็นเทคโนโลยีการกรองด้วยเมมเบรนละเอียด มีความเหมาะสมในการนำมาผลิตน้ำดื่ม สามารถกรองเชื้อโรคในน้ำได้ดี และสามารถคงแร่ธาตุที่สำคัญต่อร่างกายมนุษย์ได้มากกว่าระบบรีเวิร์สออสโมซิส (RO)

       2. บ้านน้ำดื่มพลังงานแสงอาทิตย์ระบบ UF สามารถผลิตน้ำดื่มสะอาดได้ตามมาตรฐานกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข และ ใช้พลังงานต่ำเพียง 1 กิโลวัตต์-ชั่วโมง (kWh) ต่อการผลิตน้ำ 1 ลูกบาศก์เมตร (m3) ในขณะที่เทคโนโลยี RO เป็นเทคโนโลยีที่ต้องการพลังงานสูงถึง 5-6 กิโลวัตต์-ขั่วโมงต่อการผลิตน้ำดื่ม1 m3

       3. บ้านน้ำดื่มพลังงานแสงอาทิตย์ระบบ UF เป็นตัวอย่างของการบริหารจัดการน้ำอุปโภคบริโภคด้วยพลังงานสะอาด ร่วมกับระบบการกรองที่มีประสิทธิภาพเพราะนอกจากจะช่วยผลิตน้ำดื่มที่สะอาดและปลอดภัย ยังช่วยยกระดับห่วงโซ่อุปทานด้านน้ำในพื้นที่ และลดการปล่อยก๊าชเรือนกระจก ทำให้สามารถเป็นกลไกหนึ่งในการขยายการเติบโตของเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืนบนฐานเศรษฐกิจสีเขียว 

ผลวิเคราะห์คุณภาพน้ำบาดาลก่อนและหลังกรอง ณ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านเทพภูเงิน จังหวัดอุดรธานี อ้างอิงตามเกณฑ์คุณภาพน้ำประปาดื่มได้ กรมอนามัย ปี พ.ศ. 2563

ติดต่อสอบถาม

ฝ่ายธุรกิจนวัตกรรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC)

The post โครงการจัดการน้ำอุปโภคบริโภคให้แก่โรงเรียน ตชด. และชุมชนชายขอบ appeared first on NAC2021.

]]>
แบตเตอรี่ปลอดภัยไร้ลิเทียม (Non-Lithium Ion Batteries) http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/09/na28-non-lithium-ion-batteries/ Tue, 09 Mar 2021 03:31:37 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=12122 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ฝ่ายวิจัยกราฟีนและนวัตกรรมการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อความมั่นคงของประเทศและการประยุกต์เชิงพาณิชย์ ความมั่นคงของประเทศ ได้ถูกกำหนดให้เป็นประเด็นสำคัญหนึ่งในยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561-2580) โดยมีเป้าหมายสำคัญในเรื่องของการสร้างความมั่นคงปลอดภัย สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติฯ โดยมีประเด็นหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการมุ่งเน้นการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการรับมือภัยต่อความมั่นคงและเสถียรภาพแหล่งจ่ายพลังงาน ซึ่งปัจจุบันการพัฒนาแบตเตอรี่ทางเลือกเริ่มมีบทบาทเพิ่มขึ้นทั้งในเรื่องของความปลอดภัย การใช้วัตถุดิบภายในประเทศ เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมต่างๆ ตัวอย่างเช่น เทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่เริ่มเข้ามามีบทบาทที่สำคัญในการขนส่งและวิถีความเป็นอยู่ของประชาชนมากยิ่งขึ้น ดังจะเห็นได้จากการสนับสนุนในเชิงนโยบายภาครัฐที่ส่งเสริมและสนับสนุนภาคเอกชนในการลงทุนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาโรงงานผลิตยานยนต์ไฟฟ้า อย่างไรก็ตามเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการผลิตยานยนต์ไฟฟ้า ซึ่งมีหัวใจสำคัญคือระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System) โดยเฉพาะแบตเตอรี่ที่เป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งและอยู่ระหว่างการมุ่งวิจัยพัฒนาประสิทธิภาพให้เพิ่มสูงขึ้นจากปัจจุบัน ในปี ค.ศ. 1991 แบตเตอรี่ลิเธียมได้ถูกพัฒนาขึ้นและได้รับความสนใจเป็นอย่างมากเนื่องจากสมรรถนะที่สูงกว่าแบตเตอรี่ชนิดอื่นๆ กลายเป็นระบบกักเก็บพลังงานที่ได้รับความนิยมในเชิงพาณิชย์ แม้ว่าแบตเตอรี่ลิเธียมไอออนเป็นแบตเตอรี่ที่ให้สมรรถนะที่ดี แต่ด้วยต้นทุนที่สูงและปัญหาด้านความปลอดภัยอันเนื่องมาจากการใช้อิเล็กโตรไลต์อินทรีย์ซึ่งเป็นพิษ การติดไฟของลิเธียมและปริมาณที่จำกัดของแร่ลิเธียม ส่งผลให้การพึ่งพาแบตเตอรี่ลิเธียมไอออนเพียงชนิดเดียว ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการขาดแคลนและอาจนำไปสู่ปัญหาความมั่นคงทางด้านพลังงานในอนาคต ดังนั้นแบตเตอรี่ทุติยภูมิชนิดใหม่ๆ เช่น แบตเตอรี่โซเดียมไอออน แบตเตอรี่แมกนีเซียมไอออน แบตเตอรี่อลูมิเนียมไอออน และแบตเตอรี่สังกะสีไอออนจึงได้ความสนใจมากขึ้นในปัจจุบัน ในบรรดาแบตเตอรี่ที่กล่าวมานั้นแบตเตอรี่สังกะสีไอออนได้รับความสนใจจากนักวิจัยอย่างมาก ทั้งนี้เนื่องจากจุดเด่นของขั้วแอโนดสังกะสี ซึ่งสามารถจ่ายอิเล็กตรอนได้สองตัว ค่าศักย์ไฟฟ้าสมดุลต่ำ ต้นทุนต่ำ มีปริมาณมากในธรรมชาติ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และให้สมรรถนะที่ดี ซึ่งสมบัติเหล่านี้ส่งผลดีต่อการใช้เป็นแอโนดในแบตเตอรี่ทุติยภูมิ นอกจากนี้สังกะสียังมีปริมาณที่มากในประเทศไทย โดยเฉพาะที่ดอยผาแดง จ.ตาก ซึ่งเป็นแหล่งแร่สังกะสีทุติยภูมิแหล่งใหญ่แห่งหนึ่งของโลกและเป็นแหล่งใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชีย ดังนั้นทีมวิจัยจึงมุ่งเน้นการพัฒนาแบตเตอรี่ชนิดสังกะสี ซึ่งเป็นโลหะที่มีปริมาณมาก ราคาต่ำ […]

The post แบตเตอรี่ปลอดภัยไร้ลิเทียม (Non-Lithium Ion Batteries) appeared first on NAC2021.

]]>

แบตเตอรี่ปลอดภัยไร้ลิเทียม (Non-Lithium Ion Batteries)

แบตเตอรี่ปลอดภัยไร้ลิเทียม (Non-Lithium Ion Batteries)

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ฝ่ายวิจัยกราฟีนและนวัตกรรมการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์
ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อความมั่นคงของประเทศและการประยุกต์เชิงพาณิชย์

       ความมั่นคงของประเทศ ได้ถูกกำหนดให้เป็นประเด็นสำคัญหนึ่งในยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561-2580) โดยมีเป้าหมายสำคัญในเรื่องของการสร้างความมั่นคงปลอดภัย สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติฯ โดยมีประเด็นหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการมุ่งเน้นการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการรับมือภัยต่อความมั่นคงและเสถียรภาพแหล่งจ่ายพลังงาน
ซึ่งปัจจุบันการพัฒนาแบตเตอรี่ทางเลือกเริ่มมีบทบาทเพิ่มขึ้นทั้งในเรื่องของความปลอดภัย การใช้วัตถุดิบภายในประเทศ เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมต่างๆ ตัวอย่างเช่น เทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่เริ่มเข้ามามีบทบาทที่สำคัญในการขนส่งและวิถีความเป็นอยู่ของประชาชนมากยิ่งขึ้น ดังจะเห็นได้จากการสนับสนุนในเชิงนโยบายภาครัฐที่ส่งเสริมและสนับสนุนภาคเอกชนในการลงทุนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาโรงงานผลิตยานยนต์ไฟฟ้า อย่างไรก็ตามเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการผลิตยานยนต์ไฟฟ้า ซึ่งมีหัวใจสำคัญคือระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System) โดยเฉพาะแบตเตอรี่ที่เป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งและอยู่ระหว่างการมุ่งวิจัยพัฒนาประสิทธิภาพให้เพิ่มสูงขึ้นจากปัจจุบัน

      ในปี ค.ศ. 1991 แบตเตอรี่ลิเธียมได้ถูกพัฒนาขึ้นและได้รับความสนใจเป็นอย่างมากเนื่องจากสมรรถนะที่สูงกว่าแบตเตอรี่ชนิดอื่นๆ กลายเป็นระบบกักเก็บพลังงานที่ได้รับความนิยมในเชิงพาณิชย์ แม้ว่าแบตเตอรี่ลิเธียมไอออนเป็นแบตเตอรี่ที่ให้สมรรถนะที่ดี แต่ด้วยต้นทุนที่สูงและปัญหาด้านความปลอดภัยอันเนื่องมาจากการใช้อิเล็กโตรไลต์อินทรีย์ซึ่งเป็นพิษ การติดไฟของลิเธียมและปริมาณที่จำกัดของแร่ลิเธียม ส่งผลให้การพึ่งพาแบตเตอรี่ลิเธียมไอออนเพียงชนิดเดียว ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการขาดแคลนและอาจนำไปสู่ปัญหาความมั่นคงทางด้านพลังงานในอนาคต ดังนั้นแบตเตอรี่ทุติยภูมิชนิดใหม่ๆ เช่น แบตเตอรี่โซเดียมไอออน แบตเตอรี่แมกนีเซียมไอออน แบตเตอรี่อลูมิเนียมไอออน และแบตเตอรี่สังกะสีไอออนจึงได้ความสนใจมากขึ้นในปัจจุบัน ในบรรดาแบตเตอรี่ที่กล่าวมานั้นแบตเตอรี่สังกะสีไอออนได้รับความสนใจจากนักวิจัยอย่างมาก ทั้งนี้เนื่องจากจุดเด่นของขั้วแอโนดสังกะสี ซึ่งสามารถจ่ายอิเล็กตรอนได้สองตัว ค่าศักย์ไฟฟ้าสมดุลต่ำ ต้นทุนต่ำ มีปริมาณมากในธรรมชาติ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และให้สมรรถนะที่ดี ซึ่งสมบัติเหล่านี้ส่งผลดีต่อการใช้เป็นแอโนดในแบตเตอรี่ทุติยภูมิ นอกจากนี้สังกะสียังมีปริมาณที่มากในประเทศไทย โดยเฉพาะที่ดอยผาแดง จ.ตาก ซึ่งเป็นแหล่งแร่สังกะสีทุติยภูมิแหล่งใหญ่แห่งหนึ่งของโลกและเป็นแหล่งใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชีย ดังนั้นทีมวิจัยจึงมุ่งเน้นการพัฒนาแบตเตอรี่ชนิดสังกะสี ซึ่งเป็นโลหะที่มีปริมาณมาก ราคาต่ำ ไม่เป็นพิษ และมีความปลอดภัยสูง อีกทั้งแหล่งผลิตยังมีกระจายอยู่ทั่วโลก โดยเน้นให้แบตเตอรี่ที่พัฒนาขึ้นใหม่สามารถใช้กระบวนการผลิตที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีการผลิตแบตเตอรี่ลิเธียมไอออนที่มีอยู่แล้ว

รายละเอียดผลงานวิจัย

Non-Lithium Ion Batteries

        แบตเตอรี่สังกะสีที่ได้ร่วมกันพัฒนาขึ้นนั้นได้นำเทคโนโลยีกราฟีนเข้ามาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ แบตเตอรี่สังกะสีไอออนได้ค่าการเก็บประจุสูงถึง 180-200 mAh/g และมีค่าความหนาแน่นพลังงานอยู่ในช่วง 180-200 Wh/kg ให้ค่าแรงดันได้ 1.2 – 1.4 โวลต์ สามารถใช้งานได้ยาวนานกว่า 1000 รอบ มีประสิทธิภาพด้านความหนาแน่นพลังงานสูงกว่าแบตเตอรี่ตะกั่วกรดและสามารถเทียบเคียงกับแบตเตอรี่ลิเธียมไอออนบางชนิดได้ แต่มีความปลอดภัยสูง ไม่ระเบิดแม้ถูกเจาะ นอกจากนี้ ยังได้ร่วมกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ กรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม จัดตั้งและดำเนินการ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมแบตเตอรี่ล้ำสมัยที่ผลิตจากวัตถุดิบภายในประเทศเพื่อความมั่นคง เพื่อเป็นหน่วยงานหลักในการวิจัยและเป็นศูนย์กลางในเครือข่ายงานวิจัยนวัตกรรมแบตเตอรี่ที่ผลิตจากวัตถุดิบภายในประเทศ หากประเทศไทยสามารถผลิตแบตเตอรี่ซิงก์ไอออนได้ จะช่วยให้เราไม่ต้องประสบปัญหาขาดแคลนพลังงานในยามวิกฤตที่ไม่สามารถนำเข้าลิเทียมได้ และยังส่งเสริมความมั่นคงทางพลังงานของประเทศอีกด้วย

ประโยชน์ที่ได้รับ

  1. เป็นงานวิจัยพัฒนาแบตเตอรี่ทางเลือกใหม่ สร้างเทคโนโลยีที่เป็นองค์ความรู้ของคนไทย 
  2. สร้างศักยภาพด้านเทคโนโลยีทางพลังงานของประเทศ เสริมสร้างให้ประเทศไทยมีศักยภาพในการแข่งขันทางพลังงานและมีเสถียรภาพทางด้านพลังงาน
  3. คุณสมบัติเด่นคือ ปลอดภัย ไม่ระเบิด เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และมีวัตถุดิบที่ผลิตได้เองภายในประเทศ

กลุ่มผู้ใช้เทคโนโลยี

       กลุ่มผู้ใช้งานแบตเตอรี่ตะกั่วกรดเดิมและผู้ใช้งานระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่สำรองไฟฟ้าใช้ในบ้านพักอาศัย, ระบบกักเก็บพลังงานแบบอยู่กับที่, ยานยนต์ขนาดใหญ่ (รถบัสและรถบรรทุกไฟฟ้า), เรือ, Station และงานที่ต้องการความปลอดภัยสูง เช่น สถานีวิทยุสื่อสารทหาร แท่นขุดเจาะน้ำมัน

สถานะงานวิจัย

       การพัฒนางานวิจัยอยู่ในระดับห้องปฏิบัติการและภาคสนามเบื้องต้น

ติดต่อสอบถาม

คุณกลดธิดา ญาณุกุล
ฝ่ายวิจัยกราฟีนและนวัตกรรมการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์
ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อความมั่นคงของประเทศและการประยุกต์เชิงพาณิชย์

ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ:

The post แบตเตอรี่ปลอดภัยไร้ลิเทียม (Non-Lithium Ion Batteries) appeared first on NAC2021.

]]>
Greetings from NARLabs in Taipei, Taiwan http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/07/na41-greetings-from-narlabs-in-taipei-taiwan/ Sun, 07 Mar 2021 13:34:40 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=11238 Dr. Kuang-Chong Wu, President of NARLabs, blessing for the 30th anniversary of NSTDA Greetings from NARLabs in Taipei, Taiwan. The entire team at the National Applied Research Laboratories is so happy to hear that NSTDA is celebrating its 30th anniversary this year, which is certainly a milestone to be proud of. Having given so much […]

The post Greetings from NARLabs in Taipei, Taiwan appeared first on NAC2021.

]]>

Dr. Kuang-Chong Wu, President of NARLabs, blessing for the 30th anniversary of NSTDA

Greetings from NARLabs in Taipei, Taiwan.

        The entire team at the National Applied Research Laboratories is so happy to hear that NSTDA is celebrating its 30th anniversary this year, which is certainly a milestone to be proud of. Having given so much to Thailand’s society and scientific development, NSTDA is a role model for many national institutions in the South-east Asian region.

        Therefore, NARLabs would like to extend its sincerest congratulations to NSTDA, whose talent and diligence have attracted the cooperation with many other scientific and technological institutions such as ours. During the time we have worked together, we have learned that NSTDA is a vital player in the region’s quest for excellence, and it is precisely why we hope there will be many more years of collaboration between our two institutions.

        The NARLabs team wishes you all the best and we share your excitement to continue our joint research projects. May this 30th anniversary be the celebration of past achievements and the blessing of future collaborations.

        Finally, NARLabs, including its Bangkok Office, is also working on several activities to support joint research program and bilateral conferences. With this NARLabs-NSTDA partnership, we expect to create more opportunities and benefits for our prospering countries.

ติดต่อสอบถาม

Ms. Chatchanan Sangkanchai

ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ:

The post Greetings from NARLabs in Taipei, Taiwan appeared first on NAC2021.

]]>