บุคลากรทางการศึกษา – NAC2021 http://10.228.26.24:31824/nac/2021 16th NSTDA Annual Conference Mon, 03 May 2021 04:15:17 +0000 en-US hourly 1 https://wordpress.org/?v=6.1.1 http://10.228.26.24:31824/nac/2021/wp-content/uploads/2021/02/cropped-nac-web-logo-01-32x32.png บุคลากรทางการศึกษา – NAC2021 http://10.228.26.24:31824/nac/2021 32 32 โลกเปลี่ยน คนปรับ ขยับการเรียนรู้ ในโรงเรียน(ชนบท) http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/05/learning-in-rural-school/ Fri, 05 Mar 2021 14:11:39 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=9354 โลกเปลี่ยน คนปรับ ขยับการเรียนรู้ ในโรงเรียน(ชนบท) 25 มีนาคม 2564 เวลา 13:00 – 16:00 น.         ในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงอยางไม่คาดคิดที่เกิดขึ้นภายหลังการระบาดอย่างรุนแรงของโรคระบาด Covid-19 ทั่วโลกและประเทศไทยจำเป็นจำมีการปรับตัวครั้งยิ่งใหญ่ เพื่อให้อารยธรรม วัฒนธรรม กิจกรรมด้านต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์และสังคมของมนุษยชาติสามารถดำเนินต่อไปได้โดยมีผลกระทบเกิดขึ้นน้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ สำหรับกิจกรรมด้านการจัดการศึกษา นับเป็นหนึ่งในกิจกรรมที่มีการปรับตัวอย่างรุนแรงและก่อให้เกิดการนำและเร่งพัฒนาเทคโนโลยี วิธีการใหม่ๆ มาใช้ เพื่อให้ผู้เรียนทั่วโลกยังสามารถเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง         สำหรับประเทศไทย รัฐบาลได้ออกมาตรการ วิธีการมากมาย เพื่อขับเคลื่อนความสามารถของบุคลากรด้านการศึกษาให้สามารถใช้ เทคโนโลยีเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ได้อยางมีประสิทธิภาพในระดับหนึ่ง แต่เป็นที่ทราบกันว่า แม้จะอยู่ในประเทศเดียวกัน แต่ยังคงมีหลายพื้นที่ในประเทศไทยที่สภาพแวดล้อม บริบท และความพร้อมในเชิงโครงสร้างยังไม่พร้อมมากนักกับการเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่ครั้งนี้ โดยเฉพาะโรงเรียนในเขตชนบทห่างไกล ทำให้ต้องมีการปรับตัวด้วยวิธีการและมิติที่อาจจะแตกต่างไปจากโรงเรียนใหญ่ในเขตเมือง         บทเรียนและแนวทางของการปรับเปลี่ยนตนเองของโรงเรียนในชนบทที่ สวทช. โดยงานวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนชนบท เข้าไปมีส่วนร่วมส่งเสริมและพัฒนาครูผู้สอน จึงเป็นเรื่องน่าสนใจศึกษาและถอดรหัส ว่าจะสามารถทำอย่างไร เพื่อเปลี่ยนให้ความไม่พร้อมกลายเป็นความพร้อม พลิกวิกฤตให้กลายเป็นโอกาสได้สำหรับผู้เรียนในพื้นที่ห่างไกลในการเรียนรู้จากปัญหาที่ประสบพบเจอในยุคปัจจุบัน […]

The post โลกเปลี่ยน คนปรับ ขยับการเรียนรู้ ในโรงเรียน(ชนบท) appeared first on NAC2021.

]]>

โลกเปลี่ยน คนปรับ ขยับการเรียนรู้ ในโรงเรียน(ชนบท)

25 มีนาคม 2564 
เวลา 13:00 – 16:00 น.

        ในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงอยางไม่คาดคิดที่เกิดขึ้นภายหลังการระบาดอย่างรุนแรงของโรคระบาด Covid-19 ทั่วโลกและประเทศไทยจำเป็นจำมีการปรับตัวครั้งยิ่งใหญ่ เพื่อให้อารยธรรม วัฒนธรรม กิจกรรมด้านต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์และสังคมของมนุษยชาติสามารถดำเนินต่อไปได้โดยมีผลกระทบเกิดขึ้นน้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ สำหรับกิจกรรมด้านการจัดการศึกษา นับเป็นหนึ่งในกิจกรรมที่มีการปรับตัวอย่างรุนแรงและก่อให้เกิดการนำและเร่งพัฒนาเทคโนโลยี วิธีการใหม่ๆ มาใช้ เพื่อให้ผู้เรียนทั่วโลกยังสามารถเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

        สำหรับประเทศไทย รัฐบาลได้ออกมาตรการ วิธีการมากมาย เพื่อขับเคลื่อนความสามารถของบุคลากรด้านการศึกษาให้สามารถใช้ เทคโนโลยีเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ได้อยางมีประสิทธิภาพในระดับหนึ่ง แต่เป็นที่ทราบกันว่า แม้จะอยู่ในประเทศเดียวกัน แต่ยังคงมีหลายพื้นที่ในประเทศไทยที่สภาพแวดล้อม บริบท และความพร้อมในเชิงโครงสร้างยังไม่พร้อมมากนักกับการเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่ครั้งนี้ โดยเฉพาะโรงเรียนในเขตชนบทห่างไกล ทำให้ต้องมีการปรับตัวด้วยวิธีการและมิติที่อาจจะแตกต่างไปจากโรงเรียนใหญ่ในเขตเมือง

        บทเรียนและแนวทางของการปรับเปลี่ยนตนเองของโรงเรียนในชนบทที่ สวทช. โดยงานวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนชนบท เข้าไปมีส่วนร่วมส่งเสริมและพัฒนาครูผู้สอน จึงเป็นเรื่องน่าสนใจศึกษาและถอดรหัส ว่าจะสามารถทำอย่างไร เพื่อเปลี่ยนให้ความไม่พร้อมกลายเป็นความพร้อม พลิกวิกฤตให้กลายเป็นโอกาสได้สำหรับผู้เรียนในพื้นที่ห่างไกลในการเรียนรู้จากปัญหาที่ประสบพบเจอในยุคปัจจุบัน

        การเสวนาในครั้งนี้ จะมีทั้งเสียงสะท้อนจากทั้งครูในพื้นที่จริง ที่ได้ประสบ แก้ไข และพิชิตอุปสรรคเหล่านั้นมาแล้ว รวมถึงมุมมองจากนักวิชาการด้านการจัดการศึกษาวิทยาศาสตร์ และด้านสังคม ร่วมถึงทางด้านนโยบายทางการศึกษาร่วมแลกเปลียนในครั้งนี้ เพื่อร่วมหาแนวทางในในพัฒนาการศึกษาของประเทศไทยต่อไปอย่างไม่ขาดตอน ให้เห็นว่า โลกมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา คนก็ต้องเตรียมพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงเช่นกัน ร่วมเป็นพลัง กำลังใจ และความหวัง เพื่อค้นหาแนวทางและวิธีการใหม่ๆที่น่าตื่นเต้น ในการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนเพื่อจะสามารถปรับตัวตาม และก้าวไปพร้อมกับโลกใบนี้อย่างเข้มแข็งและปลอดภัย

วิดีโอบันทึกการสัมมนา

กำหนดการ

วันที่ 25 มีนาคม 2564

13.00-13.15 น.

กล่าวต้อนรับและเปิดการเสวนา

โดย  ดร.ชฎามาศ ธุวะเศรษฐกุล
รองผู้อำนวยการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

13.15-14.00 น.

สถานการณ์การจัดการเรียนรู้ในพื้นที่โรงเรียนชนบทบริบทต่างๆ

1. บริบทของโรงเรียนพระปริยัติธรรม
โดย พระครูถาวรรัตนานุกิจ
ประธานเขตการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เขต 6

2. บริบทของโรงเรียนพื้นที่ห่างไกลในเขตภาคเหนือ
โดย อาจารย์สุรเดช พหลโยธิน
ผู้เชี่ยวชาญ งานวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนชนบท
อดีตรองผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดแม่ฮ่องสอน

3. บริบทของโรงเรียนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
โดย อาจารย์วีรชัย สติรักษ์
ครูชำนาญการพิเศษ หัวหน้าครูกลุ่มโรงเรียนรักษ์ป่าบาลา จังหวัดนราธิวาส

14.00-15.00 น.

นานาทัศนะและแนวทางการแก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนยุค New Normal โดย นักวิชาการชั้นนำด้านการจัดการศึกษาวิทยาศาสตร์ และสังคมศาสตร์

1. รองศาสตราจารย์ ดร.ชาตรี ฝ่ายคำตา
ผู้เชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์ศึกษา
จากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรรถพล อนันตวสกุล
ผู้เชี่ยวชาญด้านสังคมศึกษา
จากคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. ดร.กุศลิน มุสิกุล
ผู้ช่วยผู้อำนวยการ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

15.00-15.30 น.

มุมมองการพัฒนาการเรียนรู้ในช่วง next normal ในโรงเรียนชนบท: การเตรียม ความพร้อมของเด็กและครูสู่ยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง
โดย วิทยากรและตัวแทนครูทุกท่าน

15:00-16:00 น.

เวทีถามตอบและแลกเปลี่ยนประสบการณ์

เกี่ยวกับวิทยากร:

The post โลกเปลี่ยน คนปรับ ขยับการเรียนรู้ ในโรงเรียน(ชนบท) appeared first on NAC2021.

]]>
การเสวนา เปิดคัมภีร์ “101 เคล็ดลับนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง” บ่มเพาะตรงจุด มีกลยุทธ์โดนใจ http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/04/101-mentor-scientist-secret/ Thu, 04 Mar 2021 15:18:05 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=11294 การเสวนา เปิดคัมภีร์ “101 เคล็ดลับนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง” บ่มเพาะตรงจุด มีกลยุทธ์โดนใจ และเปิดตัวหนังสือ 101 เคล็ดลับนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง 26 มีนาคม 2564 เวลา 09:30 – 12:00 น.         โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับเด็กและเยาวชน หรือ JSTP (Junior Science Talent Project) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) มีเป้าหมายในการสร้างหัวรถจักรให้กับประเทศโดยส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมเสริมสร้างประสบการณ์ ได้ฝึกทักษะวิจัยกับนักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตั้งแต่ยังเยาว์วัย เพื่อก้าวสู่การเป็นนักวิจัย/นักวิทยาศาสตร์ชั้นนำต่อไปในอนาคต         โครงการได้จัดทำหนังสือ “101 เคล็ดลับนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง” นำเสนอตัวอย่างและวิธีการบ่มเพาะเยาวชนโดยนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง ให้ที่ประสบความสำเร็จในเส้นทางสายวิทยาศาสตร์ เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย รวมถึงเยาวชนรุ่นต่อๆ ไปให้มีใจใฝ่รักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยยกตัวอย่างนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยงที่ทุ่มเท เสียสละ ร่วมกันบ่มเพาะเยาวชน ได้เดินทางตามความฝันจนจบการศึกษาและกลับมาเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศไทยต่อไป วิดีโอบันทึกการสัมมนา https://www.youtube.com/watch?v=kbYFhOFmF_c กำหนดการ วันที่ 26 มีนาคม 2564 […]

The post การเสวนา เปิดคัมภีร์ “101 เคล็ดลับนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง” บ่มเพาะตรงจุด มีกลยุทธ์โดนใจ appeared first on NAC2021.

]]>

การเสวนา เปิดคัมภีร์ “101 เคล็ดลับนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง” บ่มเพาะตรงจุด มีกลยุทธ์โดนใจ และเปิดตัวหนังสือ 101 เคล็ดลับนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง

26 มีนาคม 2564 
เวลา 09:30 – 12:00 น.

        โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับเด็กและเยาวชน หรือ JSTP (Junior Science Talent Project) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) มีเป้าหมาย
ในการสร้างหัวรถจักรให้กับประเทศโดยส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมเสริมสร้างประสบการณ์ ได้ฝึกทักษะวิจัยกับนักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตั้งแต่ยังเยาว์วัย เพื่อก้าวสู่การเป็นนักวิจัย/
นักวิทยาศาสตร์ชั้นนำต่อไปในอนาคต

        โครงการได้จัดทำหนังสือ “101 เคล็ดลับนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง” นำเสนอตัวอย่างและวิธีการบ่มเพาะเยาวชนโดยนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง ให้ที่ประสบความสำเร็จในเส้นทางสายวิทยาศาสตร์ เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย รวมถึงเยาวชนรุ่นต่อๆ ไปให้มีใจใฝ่รักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยยกตัวอย่างนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยงที่ทุ่มเท เสียสละ ร่วมกันบ่มเพาะเยาวชน ได้เดินทางตามความฝันจนจบการศึกษาและกลับมาเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศไทยต่อไป

วิดีโอบันทึกการสัมมนา

กำหนดการ

วันที่ 26 มีนาคม 2564

09.00 – 09.30 น.

ลงทะเบียนออนไลน์เข้าร่วมงาน

09.30 – 12.00 น.

การเสวนา เปิดคัมภีร์ “101 เคล็ดลับนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง” บ่มเพาะตรงจุด มีกล ยุทธ์โดนใจ และเปิดตัวหนังสือ 101 เคล็ดลับนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง
กล่าวเปิดตัวหนังสือ โดย
ศ.ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์
ประธานโครงการ JSTP และ อดีตรองนายกรัฐมนตรี

การเสวนา เปิดคัมภีร์ “101 เคล็ดลับนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง” บ่มเพาะตรงจุด มีกลยุทธ์โดนใจ และเปิดตัวหนังสือ 101 เคล็ดลับนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง 
โดย
อ.นิพนธ์ ศรีนฤมล อดีตครูเชี่ยวชาญ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ดร.ธีรวิทย์ วิไลประสิทธิ์พร สถาบันวิทยสิริเมธี
ดร.ศิรวัจน์ อิทธิภูริพัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
คุณปริทัศน์ เทียนทอง นักวิชาการอาวุโส ฝ่ายสร้างสรรค์สื่อและผลิตภัณฑ์ สวทช.

เกี่ยวกับวิทยากร:

The post การเสวนา เปิดคัมภีร์ “101 เคล็ดลับนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง” บ่มเพาะตรงจุด มีกลยุทธ์โดนใจ appeared first on NAC2021.

]]>