กิจกรรมเยาวชน – NAC2021 http://10.228.26.24:31824/nac/2021 16th NSTDA Annual Conference Mon, 03 May 2021 04:15:17 +0000 en-US hourly 1 https://wordpress.org/?v=6.1.1 http://10.228.26.24:31824/nac/2021/wp-content/uploads/2021/02/cropped-nac-web-logo-01-32x32.png กิจกรรมเยาวชน – NAC2021 http://10.228.26.24:31824/nac/2021 32 32 Fun Science Buffet: Talk with outstanding young scientists http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/07/fun-science-buffet/ Sun, 07 Mar 2021 00:10:24 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=11364 Fun Science Buffet: Talk with outstanding young scientists 29 มีนาคม 2564 เวลา 09:00 – 11:00 น.         กิจกรรม “Fun Science Buffet: Talk with outstanding young scientists” เป็นการถ่ายทอดประสบการณ์จากผู้แทนประเทศไทยในโครงการพัฒนานักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีที่มีความเชี่ยวชาญในสาขา ต่างๆ แบบเจาะลึก โดยเหล่านักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่จะมาเล่างานวิจัยปัจจุบันในกลุ่มต่าง ๆ เช่น กลุ่มด้าน วิทยาศาสตร์การแพทย์และโรคอุบัติใหม่ กลุ่มด้านอาหารและโภชนาการ กลุ่มการทำงานของสมองและการเรียนรู้ กลุ่มคณิตศาสตร์เพื่อชีวิตและอนาคต และกลุ่มด้านโลก ดาราศาสตร์ เอกภพและจักรวาล รวมทั้งเส้นทางอาชีพนักวิทยาศาสตร์และนักวิจัยพร้อมเคล็ดลับที่ทำให้ประสบความสำเร็จและได้ร่วม กิจกรรมระดับโลกให้กับนักเรียนฟังในภาษาที่เข้าใจง่ายและเป็นกันเอง เพื่อให้นักเรียนที่อยากรู้และสนใจ ว่าวิทยาศาสตร์ในแต่ละสาขานั้นทำงานกันอย่างไร นอกจากนี้นักเรียนจะรู้สึกตื่นเต้นกับการค้นพบงานทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ในปัจจุบันด้วย โดยกิจกรรมนี้ประกอบด้วยการบรรยาย การสนทนาซักถาม […]

The post Fun Science Buffet: Talk with outstanding young scientists appeared first on NAC2021.

]]>

Fun Science Buffet: Talk with outstanding young scientists

29 มีนาคม 2564 
เวลา 09:00 – 11:00 น.

        กิจกรรม “Fun Science Buffet: Talk with outstanding young scientists” เป็นการถ่ายทอดประสบการณ์จากผู้แทนประเทศไทยในโครงการพัฒนานักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีที่มีความเชี่ยวชาญในสาขา ต่างๆ แบบเจาะลึก โดยเหล่านักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่จะมาเล่างานวิจัยปัจจุบันในกลุ่มต่าง ๆ เช่น กลุ่มด้าน วิทยาศาสตร์การแพทย์และโรคอุบัติใหม่ กลุ่มด้านอาหารและโภชนาการ กลุ่มการทำงานของสมองและการเรียนรู้ กลุ่มคณิตศาสตร์เพื่อชีวิตและอนาคต และกลุ่มด้านโลก ดาราศาสตร์ เอกภพและจักรวาล รวมทั้งเส้นทางอาชีพนักวิทยาศาสตร์และนักวิจัยพร้อมเคล็ดลับที่ทำให้ประสบความสำเร็จและได้ร่วม กิจกรรมระดับโลกให้กับนักเรียนฟังในภาษาที่เข้าใจง่ายและเป็นกันเอง เพื่อให้นักเรียนที่อยากรู้และสนใจ ว่าวิทยาศาสตร์ในแต่ละสาขานั้นทำงานกันอย่างไร นอกจากนี้นักเรียนจะรู้สึกตื่นเต้นกับการค้นพบงานทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ในปัจจุบันด้วย โดยกิจกรรมนี้ประกอบด้วยการบรรยาย การสนทนาซักถาม และการเล่นเกมออนไลน์ชิงรางวัล ทำให้นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้งานวิจัยในด้านต่าง ๆ และแนวทางการศึกษาและเส้นทางอาชีพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในอนาคต

วัตถุประสงค์
1. เพื่อสร้างความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้แก่เยาวชน
2. เพื่อสนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ในสาขาต่าง ๆ
3. เพื่อให้นักเรียนได้เห็นเส้นทางการศึกษาต่อในสาขาวิทยาศาสตร์ในอนาคต

วิดีโอบันทึกกิจกรรม

กำหนดการ

วันที่ 29 มีนาคม 2564

09.00 – 09.15 น.

กลุ่มด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์และโรคอุบัติใหม่
หัวข้อการบรรยาย “กำเนิดไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่และมหันตภัยคุกคามชาวโลก”
โดย ดร.ภคพฤฒ คุ้มวัน
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

09.15 – 09.30 น.

กลุ่มด้านอาหารและโภชนาการ
หัวข้อการบรรยาย “พี่อยากบอก…..กินอย่างไรให้สุขภาพดี”
โดย ดร.สิรภัทร แต่สุวรรณ
ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

09.30 – 10.00 น.

กลุ่มการทำงานของสมองและการเรียนรู้
หัวข้อการบรรยาย “เจาะลึกการทำงานสมอง & อารมณ์และความรู้: มหัศจรรย์ความเชื่อมโยง”
โดย ดร.นายแพทย์ นิธิ อัศวภาณุมาศ
สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

หัวข้อการบรรยาย “ทำไมบริษัทระดับโลกต้องลงมาเล่นเลโก้มากขึ้น หรือการเรียนรู้ จากเกมส์จะเป็นกระแสใหม่ในโลก?”
โดย ดร.ขจรวุฒิ อุ่นใจ
หลักสูตรวิศวกรรมชีวภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

10.00 – 10.15 น.

กลุ่มคณิตศาสตร์เพื่อชีวิตและอนาคต
หัวข้อการบรรยาย “คณิตพิชิตจักรวาล”
โดย ดร.ศุภณัฐ ชัยดี
ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

10.15 – 10.30 น.

กลุ่มด้านโลก ดาราศาสตร์ เอกภพและจักรวาล
หัวข้อการบรรยาย “Alien: where to find them? : ตามหาสิ่งมีชีวิตนอกโลก”
โดย ดร.เพชระ ภัทรกิจวานิช
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หัวข้อการบรรยาย “สนุกกับนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบล”
โดย ดร.ศุภชัย อาวิพันธุ์
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)

10.30 – 11.00 น.

ถาม – ตอบ

หมายเหตุ
กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม

เข้าร่วมสัมมนาด้วยโปรแกรม ZOOM เท่านั้น

เกี่ยวกับวิทยากร:

The post Fun Science Buffet: Talk with outstanding young scientists appeared first on NAC2021.

]]>
รักษ์โลก ผ่านสื่อโอริงามิ (Origami) http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/07/origami/ Sat, 06 Mar 2021 23:31:26 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=11388 รักษ์โลก ผ่านสื่อโอริงามิ (Origami) 29 มีนาคม 2564 เวลา 13.00 – 16.30 น. ขออภัย ขณะนี้จำนวนผู้เข้าสมัครเต็มแล้ว จากปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็น มลภาวะทางอากาศ (Air Pollution) เช่น การฟุ้งกระจายของฝุ่นละอองขนาดเล็ก หรือฝุ่น PM 2.5 มลภาวะทางน้ำ (Water Pollution) เช่น แม่น้ำ ลำคลองเน่าเหม็น มลภาวะทางแสง (Light Pollution) หรือแม้กระทั่งขยะอวกาศ (Space Junk) ล้วนแต่ส่งผลกระทบด้านลบต่อคุณภาพชีวิตของมนุษย์ได้ทั้งสิ้น ด้วยเหตุนี้ เพื่อให้เยาวชนได้ตระหนักถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นเหล่านี้ และเป็นส่วนหนึ่งในการป้องกันและแก้ไขปัญหา ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จึงจัดให้มีกิจกรรม “รักษ์โลก ผ่านสื่อโอริงามิ (Origami)” เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมนี้จะได้ฝึกทักษะการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมด้วยโอริงามิหรือศิลปะการพับกระดาษ กำหนดการ วันที่ 29 มีนาคม 2564 12.45 – […]

The post รักษ์โลก ผ่านสื่อโอริงามิ (Origami) appeared first on NAC2021.

]]>

รักษ์โลก ผ่านสื่อโอริงามิ (Origami)

29 มีนาคม 2564 
เวลา 13.00 – 16.30 น.

ขออภัย ขณะนี้จำนวนผู้เข้าสมัครเต็มแล้ว

        จากปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็น มลภาวะทางอากาศ (Air Pollution) เช่น การฟุ้งกระจายของฝุ่นละอองขนาดเล็ก หรือฝุ่น PM 2.5 มลภาวะทางน้ำ (Water Pollution) เช่น แม่น้ำ ลำคลองเน่าเหม็น มลภาวะทางแสง (Light Pollution) หรือแม้กระทั่งขยะอวกาศ (Space Junk) ล้วนแต่ส่งผลกระทบด้านลบต่อคุณภาพชีวิตของมนุษย์ได้ทั้งสิ้น ด้วยเหตุนี้ เพื่อให้เยาวชนได้ตระหนักถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นเหล่านี้ และเป็นส่วนหนึ่งในการป้องกันและแก้ไขปัญหา ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จึงจัดให้มีกิจกรรม “รักษ์โลก ผ่านสื่อโอริงามิ (Origami)” เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมนี้จะได้ฝึกทักษะการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมด้วยโอริงามิหรือศิลปะการพับกระดาษ

กำหนดการ

วันที่ 29 มีนาคม 2564

12.45 – 13.00 น.

เข้าระบบเพื่อเตรียมความพร้อม

13.00 – 13.40 น.

The Art & Science of Origami
โดย ดร. บัญชา ธนบุญสมบัติ
ผู้อำนวยการฝ่ายเผยแพร่เทคโนโลยี
ศูนย์เทคโนโลยีและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช.

13.40 – 15.00 น.

แลกเปลี่ยนความคิดเห็นผลงานการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมด้วยโอริงามิ

15.00 – 15.10 น.

พัก

15.10 – 16.00 น.

แลกเปลี่ยนความคิดเห็นผลงานการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมด้วยโอริงามิ (ต่อ)

16.00 – 16.30 น.

สรุปกิจกรรมและประกาศผลรางวัล

เกี่ยวกับวิทยากร:

The post รักษ์โลก ผ่านสื่อโอริงามิ (Origami) appeared first on NAC2021.

]]>
กิจกรรม 3D printing: Design your own 3D plant pot http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/07/3d-printing/ Sat, 06 Mar 2021 22:48:44 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=11436 กิจกรรม 3D printing: Design your own 3D plant pot วันที่ 27 มีนาคม 2564 09:00 – 12:00 น. ขออภัย ขณะนี้จำนวนผู้เข้าสมัครเต็มแล้ว         เทคโนโลยีการพิมพ์สามมิติ (3D printing) เป็นเทคโนโลยีที่ถูกพัฒนาการใช้งานมาเป็นระยะเวลาหนึ่งแล้ว จนปัจจุบันมีการพัฒนาจนสามารถขยายการใช้งานได้หลากหลายรูปแบบมากขึ้น อาทิ การสร้างที่อยู่อาศัยด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติ การสร้างชิ้นส่วนอุปกรณ์ด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติในเพอร์เซเวียแรนซ์ (Perseverance) หุ่นยนต์ตระเวนสำรวจดาวอังคารที่องค์การนาซาสร้างขึ้น เป็นต้น ดังนั้นการเรียนรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีการพิมพ์สามมิติจะเป็นการเปิดโลกทัศน์ให้ผู้เรียนโดยเฉพาะเยาวชน ได้เห็นการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของเทคโนโลยีในสังคมโลกอันจะนำไปสู่การคิดต่อยอดเพื่อบูรณาการกับความรู้ด้านอื่นได้ กำหนดการ วันที่ 27 มีนาคม 2564 09.00 – 09.30 น. เทคโนโลยีเครื่องพิมพ์สามมิติและนวัตกรรมต่างๆ ที่เกิดจากเครื่องพิมพ์สามมิติโดย นางสาววสุ ทัพพะรังสีนักวิชาการ ฝ่ายวิชาการ หลักสูตร และสื่อการเรียนรู้ สวทช. 09.30 – […]

The post กิจกรรม 3D printing: Design your own 3D plant pot appeared first on NAC2021.

]]>

กิจกรรม 3D printing: Design your own 3D plant pot

วันที่ 27 มีนาคม 2564
09:00 – 12:00 น.

ขออภัย ขณะนี้จำนวนผู้เข้าสมัครเต็มแล้ว

        เทคโนโลยีการพิมพ์สามมิติ (3D printing) เป็นเทคโนโลยีที่ถูกพัฒนาการใช้งานมาเป็นระยะเวลาหนึ่งแล้ว จนปัจจุบันมีการพัฒนาจนสามารถขยายการใช้งานได้หลากหลายรูปแบบมากขึ้น อาทิ การสร้างที่อยู่อาศัยด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติ การสร้างชิ้นส่วนอุปกรณ์ด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติในเพอร์เซเวียแรนซ์ (Perseverance) หุ่นยนต์ตระเวนสำรวจดาวอังคารที่องค์การนาซาสร้างขึ้น เป็นต้น ดังนั้นการเรียนรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีการพิมพ์สามมิติจะเป็นการเปิดโลกทัศน์ให้ผู้เรียนโดยเฉพาะเยาวชน ได้เห็นการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของเทคโนโลยีในสังคมโลกอันจะนำไปสู่การคิดต่อยอดเพื่อบูรณาการกับความรู้ด้านอื่นได้

กำหนดการ

วันที่ 27 มีนาคม 2564

09.00 – 09.30 น.

เทคโนโลยีเครื่องพิมพ์สามมิติและนวัตกรรมต่างๆ ที่เกิดจากเครื่องพิมพ์สามมิติ
โดย นางสาววสุ ทัพพะรังสี
นักวิชาการ ฝ่ายวิชาการ หลักสูตร และสื่อการเรียนรู้ สวทช.

09.30 – 10.00 น.

ปัจจัยการเจริญเติบโตของพืชอวบน้ำ (Succulent Plant)
โดย นางสาวนฤมล สุขเกษม
นักวิชาการ ฝ่ายวิชาการ หลักสูตร และสื่อการเรียนรู้ สวทช.

10.00 – 11.00 น.

การออกแบบชิ้นงานสามมิติด้วยโปรแกรม Tinkercad

11.00 – 12.00 น.

ออกแบบชิ้นงานกระถางต้นไม้ และสรุปกิจกรรม

เกี่ยวกับวิทยากร:

The post กิจกรรม 3D printing: Design your own 3D plant pot appeared first on NAC2021.

]]>
ขมิ้นชัน สมุนไพร…ไม่ธรรมดา http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/07/turmeric/ Sat, 06 Mar 2021 21:45:31 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=11448 ขมิ้นชัน สมุนไพร…ไม่ธรรมดา 27 มีนาคม 2564 เวลา 13:00 – 16:30 น. ขออภัย ขณะนี้จำนวนผู้เข้าสมัครเต็มแล้ว         เรียนรู้การผสมผสานระหว่างภูมิปัญญาไทยและวิทยาศาสตร์ จากขมิ้นชันสมุนไพรไทย ผ่านการลงมือทดลองและปฏิบัติ ตลอดจนการสร้างมูลค่าโดยใช้ความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาพัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ทางด้านอาหาร ยา เครื่องสำอางค์ กำหนดการ วันที่ 27 มีนาคม 2564 13.00 – 13.30 น. บรรยาย ขมิ้นชัน สมุนไพร…ไม่ธรรมดาโดย คุณกรกนก จงสูงเนินนักวิชาการอาวุโส ฝ่ายวิชาการ หลักสูตร และสื่อการเรียนรู้ สวทช. 13.30 – 14.10 น. กิจกรรม วิทยาศาสตร์ในขมิ้นชัน 14.10 – 14.20 น. พักเบรก 14.20 – 16.00 น. กิจกรรม […]

The post ขมิ้นชัน สมุนไพร…ไม่ธรรมดา appeared first on NAC2021.

]]>

ขมิ้นชัน สมุนไพร...ไม่ธรรมดา

27 มีนาคม 2564 
เวลา 13:00 – 16:30 น.

ขออภัย ขณะนี้จำนวนผู้เข้าสมัครเต็มแล้ว

        เรียนรู้การผสมผสานระหว่างภูมิปัญญาไทยและวิทยาศาสตร์ จากขมิ้นชันสมุนไพรไทย ผ่านการลงมือทดลองและปฏิบัติ ตลอดจนการสร้างมูลค่าโดยใช้ความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาพัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ทางด้านอาหาร ยา เครื่องสำอางค์

กำหนดการ

วันที่ 27 มีนาคม 2564

13.00 – 13.30 น.

บรรยาย ขมิ้นชัน สมุนไพร…ไม่ธรรมดา
โดย คุณกรกนก จงสูงเนิน
นักวิชาการอาวุโส
ฝ่ายวิชาการ หลักสูตร และสื่อการเรียนรู้ สวทช.

13.30 – 14.10 น.

กิจกรรม วิทยาศาสตร์ในขมิ้นชัน

14.10 – 14.20 น.

พักเบรก

14.20 – 16.00 น.

กิจกรรม วิทยาศาสตร์ในขมิ้นชัน (ต่อ)

16.00 – 16.30 น.

สรุปผลการทดลอง

เกี่ยวกับวิทยากร:

The post ขมิ้นชัน สมุนไพร…ไม่ธรรมดา appeared first on NAC2021.

]]>
สร้างชิ้นงานจากเครื่อง Laser Cutting http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/07/laser-cutting/ Sat, 06 Mar 2021 20:43:26 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=11683 สร้างชิ้นงานจากเครื่อง Laser Cutting 29 มีนาคม 2564 เวลา 09:00 – 12:00 น.29 มีนาคม 2564 เวลา 13:00 – 16:00 น.30 มีนาคม 2564 เวลา 09:00 – 12:00 น. ขออภัย ขณะนี้จำนวนผู้เข้าสมัครเต็มแล้ว       เพื่อพัฒนาทักษะทางด้านวิศวกรรม ผ่านการใช้เครื่องตัดเลเซอร์ (Laser cutter) เรียนรู้การนำรูปภาพมาแปลงให้เป็นเส้นเวกเตอร์ การตั้งค่าโปรแกรม AutoLaser รวมถึงกำหนดความเร็วและพลังงานที่ใช้ในการตัดชิ้นงาน เพื่อเตรียมความพร้อมกำลังคนสู่ฐานอนาคตในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ กำหนดการ 09.00 – 09.30 น. ทำความรู้จักกับ เครื่องตัดเลเซอร์โดย คุณปริญญา ผ่องสุภาวิศวกร โรงประลองต้นแบบทางวิศวกรรม (Fabrication Lab)ฝ่ายบริหารบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร สวทช.และ คุณนฤมล สุขเกษมนักวิชาการ ฝ่ายวิชาการ […]

The post สร้างชิ้นงานจากเครื่อง Laser Cutting appeared first on NAC2021.

]]>

สร้างชิ้นงานจากเครื่อง Laser Cutting

29 มีนาคม 2564 เวลา 09:00 – 12:00 น.
29 มีนาคม 2564 เวลา 13:00 – 16:00 น.
30 มีนาคม 2564 เวลา 09:00 – 12:00 น.

ขออภัย ขณะนี้จำนวนผู้เข้าสมัครเต็มแล้ว

      เพื่อพัฒนาทักษะทางด้านวิศวกรรม ผ่านการใช้เครื่องตัดเลเซอร์ (Laser cutter) เรียนรู้การนำรูปภาพมาแปลงให้เป็นเส้นเวกเตอร์ การตั้งค่าโปรแกรม AutoLaser รวมถึงกำหนดความเร็วและพลังงานที่ใช้ในการตัดชิ้นงาน เพื่อเตรียมความพร้อมกำลังคนสู่ฐานอนาคตในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ

กำหนดการ

09.00 – 09.30 น.

ทำความรู้จักกับ เครื่องตัดเลเซอร์
โดย คุณปริญญา ผ่องสุภา
วิศวกร โรงประลองต้นแบบทางวิศวกรรม (Fabrication Lab)
ฝ่ายบริหารบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร สวทช.
และ คุณนฤมล สุขเกษม
นักวิชาการ ฝ่ายวิชาการ หลักสูตร และสื่อการเรียนรู้ สวทช.

09.30 – 10.10 น.

การดาวน์โหลดไฟล์แบบ เพื่อนำมาใช้กับเครื่องตัดเลเซอร์
และการใช้งานโปรแกรม Inlscape เบื้องต้น

10.10 – 10.20 น.

พักเบรก

10.20 – 11.00 น.

การใช้งานโปรแกรม AutoLaser

11.00 – 12.00 น.

ออกแบบชิ้นงานด้วยตนเอง และส่งไฟล์กลับมามาให้ทีมผู้จัดกิจกรรม เพื่อดำเนินการตัดชิ้นงานส่งมอบต่อไป

เกี่ยวกับวิทยากร:

The post สร้างชิ้นงานจากเครื่อง Laser Cutting appeared first on NAC2021.

]]>
นวัตกรรมอาหารและการเกษตร “ตอน การเดินทางของน้องหัวมัน” http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/07/potato-balls/ Sat, 06 Mar 2021 19:35:33 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=11725 นวัตกรรมอาหารและการเกษตร “ตอน การเดินทางของน้องหัวมัน” 29 มีนาคม 2564 เวลา 13:00 – 16:30 น. ขออภัย ขณะนี้จำนวนผู้เข้าสมัครเต็มแล้ว       ชวนเด็ก ๆ มาเรียนรู้เกี่ยวกับการเดินทางของน้องหัวมัน ตั้งแต่ต้นทางการปลูก การดูแลรักษาเพื่อให้ได้หัวมันคุณภาพสูง จนถึงกระบวนการแปรรูปที่นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการผลิตแป้งจากหัวมัน ให้มีคุณสมบัติพิเศษ ซึ่งสามารถนำมาประกอบเมนูอาหารที่หลากหลายช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับมันสำปะหลังไทย กำหนดการ วันที่ 29 มีนาคม 2564 12.30 – 13.00 น. เข้าระบบเพื่อเตรียมความพร้อม 13.00 – 14.00 น. บรรยาย จุดเริ่มต้นการเดินทาง เรียนรู้กระบวนการปลูก การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช และธาตุอาหารของพืชหัวโดย วิทยากรจาก บริษัท เอสเอ็มเอส คอร์ปอเรชั่น จำกัด 14.00 – 14.10 น. พักรับประทานอาหารว่าง 14.10 – 15.00 […]

The post นวัตกรรมอาหารและการเกษตร “ตอน การเดินทางของน้องหัวมัน” appeared first on NAC2021.

]]>

นวัตกรรมอาหารและการเกษตร "ตอน การเดินทางของน้องหัวมัน"

29 มีนาคม 2564 
เวลา 13:00 – 16:30 น.

ขออภัย ขณะนี้จำนวนผู้เข้าสมัครเต็มแล้ว

      ชวนเด็ก ๆ มาเรียนรู้เกี่ยวกับการเดินทางของน้องหัวมัน ตั้งแต่ต้นทางการปลูก การดูแลรักษาเพื่อให้ได้หัวมันคุณภาพสูง จนถึงกระบวนการแปรรูปที่นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการผลิตแป้งจากหัวมัน ให้มีคุณสมบัติพิเศษ ซึ่งสามารถนำมาประกอบเมนูอาหารที่หลากหลายช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับ
มันสำปะหลังไทย

กำหนดการ

วันที่ 29 มีนาคม 2564

12.30 – 13.00 น.

เข้าระบบเพื่อเตรียมความพร้อม

13.00 – 14.00 น.

บรรยาย จุดเริ่มต้นการเดินทาง
เรียนรู้กระบวนการปลูก การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช และธาตุอาหารของพืชหัว
โดย วิทยากรจาก บริษัท เอสเอ็มเอส คอร์ปอเรชั่น จำกัด

14.00 – 14.10 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

14.10 – 15.00 น.

กิจกรรม น้องหัวมันแปลงกาย
รู้จักกับแป้งจากพืชชนิดต่าง ๆ รอบตัว และเรียนรู้กระบวนการแปรรูปจากหัวมันสู่แป้งมัน ซึ่งถูกดัดแปลงคุณสมบัติต่าง ๆ ให้มีความพิเศษเหมาะสมกับการนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ
โดย วิทยากรจาก บริษัท เอสเอ็มเอส คอร์ปอเรชั่น จำกัด

15.00 – 15.40 น.

กิจกรรม เมนูอาหารจากแป้งน้องหัวมัน
เรียนรู้การนำแป้งจากหัวมัน มาประกอบอาหารเมนูต่าง ๆ ตามคุณสมบัติของแป้ง เช่น ความกรอบ ความเหนียว เป็นต้น
โดย วิทยากรจาก บริษัท เอสเอ็มเอส คอร์ปอเรชั่น จำกัด

15.40 – 16.00 น.

บรรยายพิเศษ เส้นทางอาชีพนักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
ในอุตสาหกรรมด้านอาหารและการเกษตร
โดย วิทยากรจาก บริษัท เอสเอ็มเอส คอร์ปอเรชั่น จำกัด

หมายเหตุ กำหนดการอาจปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม

เกี่ยวกับวิทยากร:

The post นวัตกรรมอาหารและการเกษตร “ตอน การเดินทางของน้องหัวมัน” appeared first on NAC2021.

]]>
โลกเปลี่ยน คนปรับ ขยับการเรียนรู้ ในโรงเรียน(ชนบท) http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/05/learning-in-rural-school/ Fri, 05 Mar 2021 14:11:39 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=9354 โลกเปลี่ยน คนปรับ ขยับการเรียนรู้ ในโรงเรียน(ชนบท) 25 มีนาคม 2564 เวลา 13:00 – 16:00 น.         ในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงอยางไม่คาดคิดที่เกิดขึ้นภายหลังการระบาดอย่างรุนแรงของโรคระบาด Covid-19 ทั่วโลกและประเทศไทยจำเป็นจำมีการปรับตัวครั้งยิ่งใหญ่ เพื่อให้อารยธรรม วัฒนธรรม กิจกรรมด้านต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์และสังคมของมนุษยชาติสามารถดำเนินต่อไปได้โดยมีผลกระทบเกิดขึ้นน้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ สำหรับกิจกรรมด้านการจัดการศึกษา นับเป็นหนึ่งในกิจกรรมที่มีการปรับตัวอย่างรุนแรงและก่อให้เกิดการนำและเร่งพัฒนาเทคโนโลยี วิธีการใหม่ๆ มาใช้ เพื่อให้ผู้เรียนทั่วโลกยังสามารถเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง         สำหรับประเทศไทย รัฐบาลได้ออกมาตรการ วิธีการมากมาย เพื่อขับเคลื่อนความสามารถของบุคลากรด้านการศึกษาให้สามารถใช้ เทคโนโลยีเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ได้อยางมีประสิทธิภาพในระดับหนึ่ง แต่เป็นที่ทราบกันว่า แม้จะอยู่ในประเทศเดียวกัน แต่ยังคงมีหลายพื้นที่ในประเทศไทยที่สภาพแวดล้อม บริบท และความพร้อมในเชิงโครงสร้างยังไม่พร้อมมากนักกับการเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่ครั้งนี้ โดยเฉพาะโรงเรียนในเขตชนบทห่างไกล ทำให้ต้องมีการปรับตัวด้วยวิธีการและมิติที่อาจจะแตกต่างไปจากโรงเรียนใหญ่ในเขตเมือง         บทเรียนและแนวทางของการปรับเปลี่ยนตนเองของโรงเรียนในชนบทที่ สวทช. โดยงานวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนชนบท เข้าไปมีส่วนร่วมส่งเสริมและพัฒนาครูผู้สอน จึงเป็นเรื่องน่าสนใจศึกษาและถอดรหัส ว่าจะสามารถทำอย่างไร เพื่อเปลี่ยนให้ความไม่พร้อมกลายเป็นความพร้อม พลิกวิกฤตให้กลายเป็นโอกาสได้สำหรับผู้เรียนในพื้นที่ห่างไกลในการเรียนรู้จากปัญหาที่ประสบพบเจอในยุคปัจจุบัน […]

The post โลกเปลี่ยน คนปรับ ขยับการเรียนรู้ ในโรงเรียน(ชนบท) appeared first on NAC2021.

]]>

โลกเปลี่ยน คนปรับ ขยับการเรียนรู้ ในโรงเรียน(ชนบท)

25 มีนาคม 2564 
เวลา 13:00 – 16:00 น.

        ในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงอยางไม่คาดคิดที่เกิดขึ้นภายหลังการระบาดอย่างรุนแรงของโรคระบาด Covid-19 ทั่วโลกและประเทศไทยจำเป็นจำมีการปรับตัวครั้งยิ่งใหญ่ เพื่อให้อารยธรรม วัฒนธรรม กิจกรรมด้านต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์และสังคมของมนุษยชาติสามารถดำเนินต่อไปได้โดยมีผลกระทบเกิดขึ้นน้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ สำหรับกิจกรรมด้านการจัดการศึกษา นับเป็นหนึ่งในกิจกรรมที่มีการปรับตัวอย่างรุนแรงและก่อให้เกิดการนำและเร่งพัฒนาเทคโนโลยี วิธีการใหม่ๆ มาใช้ เพื่อให้ผู้เรียนทั่วโลกยังสามารถเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

        สำหรับประเทศไทย รัฐบาลได้ออกมาตรการ วิธีการมากมาย เพื่อขับเคลื่อนความสามารถของบุคลากรด้านการศึกษาให้สามารถใช้ เทคโนโลยีเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ได้อยางมีประสิทธิภาพในระดับหนึ่ง แต่เป็นที่ทราบกันว่า แม้จะอยู่ในประเทศเดียวกัน แต่ยังคงมีหลายพื้นที่ในประเทศไทยที่สภาพแวดล้อม บริบท และความพร้อมในเชิงโครงสร้างยังไม่พร้อมมากนักกับการเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่ครั้งนี้ โดยเฉพาะโรงเรียนในเขตชนบทห่างไกล ทำให้ต้องมีการปรับตัวด้วยวิธีการและมิติที่อาจจะแตกต่างไปจากโรงเรียนใหญ่ในเขตเมือง

        บทเรียนและแนวทางของการปรับเปลี่ยนตนเองของโรงเรียนในชนบทที่ สวทช. โดยงานวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนชนบท เข้าไปมีส่วนร่วมส่งเสริมและพัฒนาครูผู้สอน จึงเป็นเรื่องน่าสนใจศึกษาและถอดรหัส ว่าจะสามารถทำอย่างไร เพื่อเปลี่ยนให้ความไม่พร้อมกลายเป็นความพร้อม พลิกวิกฤตให้กลายเป็นโอกาสได้สำหรับผู้เรียนในพื้นที่ห่างไกลในการเรียนรู้จากปัญหาที่ประสบพบเจอในยุคปัจจุบัน

        การเสวนาในครั้งนี้ จะมีทั้งเสียงสะท้อนจากทั้งครูในพื้นที่จริง ที่ได้ประสบ แก้ไข และพิชิตอุปสรรคเหล่านั้นมาแล้ว รวมถึงมุมมองจากนักวิชาการด้านการจัดการศึกษาวิทยาศาสตร์ และด้านสังคม ร่วมถึงทางด้านนโยบายทางการศึกษาร่วมแลกเปลียนในครั้งนี้ เพื่อร่วมหาแนวทางในในพัฒนาการศึกษาของประเทศไทยต่อไปอย่างไม่ขาดตอน ให้เห็นว่า โลกมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา คนก็ต้องเตรียมพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงเช่นกัน ร่วมเป็นพลัง กำลังใจ และความหวัง เพื่อค้นหาแนวทางและวิธีการใหม่ๆที่น่าตื่นเต้น ในการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนเพื่อจะสามารถปรับตัวตาม และก้าวไปพร้อมกับโลกใบนี้อย่างเข้มแข็งและปลอดภัย

วิดีโอบันทึกการสัมมนา

กำหนดการ

วันที่ 25 มีนาคม 2564

13.00-13.15 น.

กล่าวต้อนรับและเปิดการเสวนา

โดย  ดร.ชฎามาศ ธุวะเศรษฐกุล
รองผู้อำนวยการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

13.15-14.00 น.

สถานการณ์การจัดการเรียนรู้ในพื้นที่โรงเรียนชนบทบริบทต่างๆ

1. บริบทของโรงเรียนพระปริยัติธรรม
โดย พระครูถาวรรัตนานุกิจ
ประธานเขตการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เขต 6

2. บริบทของโรงเรียนพื้นที่ห่างไกลในเขตภาคเหนือ
โดย อาจารย์สุรเดช พหลโยธิน
ผู้เชี่ยวชาญ งานวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนชนบท
อดีตรองผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดแม่ฮ่องสอน

3. บริบทของโรงเรียนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
โดย อาจารย์วีรชัย สติรักษ์
ครูชำนาญการพิเศษ หัวหน้าครูกลุ่มโรงเรียนรักษ์ป่าบาลา จังหวัดนราธิวาส

14.00-15.00 น.

นานาทัศนะและแนวทางการแก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนยุค New Normal โดย นักวิชาการชั้นนำด้านการจัดการศึกษาวิทยาศาสตร์ และสังคมศาสตร์

1. รองศาสตราจารย์ ดร.ชาตรี ฝ่ายคำตา
ผู้เชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์ศึกษา
จากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรรถพล อนันตวสกุล
ผู้เชี่ยวชาญด้านสังคมศึกษา
จากคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. ดร.กุศลิน มุสิกุล
ผู้ช่วยผู้อำนวยการ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

15.00-15.30 น.

มุมมองการพัฒนาการเรียนรู้ในช่วง next normal ในโรงเรียนชนบท: การเตรียม ความพร้อมของเด็กและครูสู่ยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง
โดย วิทยากรและตัวแทนครูทุกท่าน

15:00-16:00 น.

เวทีถามตอบและแลกเปลี่ยนประสบการณ์

เกี่ยวกับวิทยากร:

The post โลกเปลี่ยน คนปรับ ขยับการเรียนรู้ ในโรงเรียน(ชนบท) appeared first on NAC2021.

]]>
การเสวนา เปิดคัมภีร์ “101 เคล็ดลับนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง” บ่มเพาะตรงจุด มีกลยุทธ์โดนใจ http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/04/101-mentor-scientist-secret/ Thu, 04 Mar 2021 15:18:05 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=11294 การเสวนา เปิดคัมภีร์ “101 เคล็ดลับนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง” บ่มเพาะตรงจุด มีกลยุทธ์โดนใจ และเปิดตัวหนังสือ 101 เคล็ดลับนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง 26 มีนาคม 2564 เวลา 09:30 – 12:00 น.         โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับเด็กและเยาวชน หรือ JSTP (Junior Science Talent Project) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) มีเป้าหมายในการสร้างหัวรถจักรให้กับประเทศโดยส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมเสริมสร้างประสบการณ์ ได้ฝึกทักษะวิจัยกับนักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตั้งแต่ยังเยาว์วัย เพื่อก้าวสู่การเป็นนักวิจัย/นักวิทยาศาสตร์ชั้นนำต่อไปในอนาคต         โครงการได้จัดทำหนังสือ “101 เคล็ดลับนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง” นำเสนอตัวอย่างและวิธีการบ่มเพาะเยาวชนโดยนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง ให้ที่ประสบความสำเร็จในเส้นทางสายวิทยาศาสตร์ เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย รวมถึงเยาวชนรุ่นต่อๆ ไปให้มีใจใฝ่รักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยยกตัวอย่างนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยงที่ทุ่มเท เสียสละ ร่วมกันบ่มเพาะเยาวชน ได้เดินทางตามความฝันจนจบการศึกษาและกลับมาเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศไทยต่อไป วิดีโอบันทึกการสัมมนา https://www.youtube.com/watch?v=kbYFhOFmF_c กำหนดการ วันที่ 26 มีนาคม 2564 […]

The post การเสวนา เปิดคัมภีร์ “101 เคล็ดลับนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง” บ่มเพาะตรงจุด มีกลยุทธ์โดนใจ appeared first on NAC2021.

]]>

การเสวนา เปิดคัมภีร์ “101 เคล็ดลับนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง” บ่มเพาะตรงจุด มีกลยุทธ์โดนใจ และเปิดตัวหนังสือ 101 เคล็ดลับนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง

26 มีนาคม 2564 
เวลา 09:30 – 12:00 น.

        โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับเด็กและเยาวชน หรือ JSTP (Junior Science Talent Project) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) มีเป้าหมาย
ในการสร้างหัวรถจักรให้กับประเทศโดยส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมเสริมสร้างประสบการณ์ ได้ฝึกทักษะวิจัยกับนักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตั้งแต่ยังเยาว์วัย เพื่อก้าวสู่การเป็นนักวิจัย/
นักวิทยาศาสตร์ชั้นนำต่อไปในอนาคต

        โครงการได้จัดทำหนังสือ “101 เคล็ดลับนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง” นำเสนอตัวอย่างและวิธีการบ่มเพาะเยาวชนโดยนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง ให้ที่ประสบความสำเร็จในเส้นทางสายวิทยาศาสตร์ เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย รวมถึงเยาวชนรุ่นต่อๆ ไปให้มีใจใฝ่รักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยยกตัวอย่างนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยงที่ทุ่มเท เสียสละ ร่วมกันบ่มเพาะเยาวชน ได้เดินทางตามความฝันจนจบการศึกษาและกลับมาเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศไทยต่อไป

วิดีโอบันทึกการสัมมนา

กำหนดการ

วันที่ 26 มีนาคม 2564

09.00 – 09.30 น.

ลงทะเบียนออนไลน์เข้าร่วมงาน

09.30 – 12.00 น.

การเสวนา เปิดคัมภีร์ “101 เคล็ดลับนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง” บ่มเพาะตรงจุด มีกล ยุทธ์โดนใจ และเปิดตัวหนังสือ 101 เคล็ดลับนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง
กล่าวเปิดตัวหนังสือ โดย
ศ.ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์
ประธานโครงการ JSTP และ อดีตรองนายกรัฐมนตรี

การเสวนา เปิดคัมภีร์ “101 เคล็ดลับนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง” บ่มเพาะตรงจุด มีกลยุทธ์โดนใจ และเปิดตัวหนังสือ 101 เคล็ดลับนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง 
โดย
อ.นิพนธ์ ศรีนฤมล อดีตครูเชี่ยวชาญ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ดร.ธีรวิทย์ วิไลประสิทธิ์พร สถาบันวิทยสิริเมธี
ดร.ศิรวัจน์ อิทธิภูริพัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
คุณปริทัศน์ เทียนทอง นักวิชาการอาวุโส ฝ่ายสร้างสรรค์สื่อและผลิตภัณฑ์ สวทช.

เกี่ยวกับวิทยากร:

The post การเสวนา เปิดคัมภีร์ “101 เคล็ดลับนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง” บ่มเพาะตรงจุด มีกลยุทธ์โดนใจ appeared first on NAC2021.

]]>