นักเรียนระดับมัธยมศึกษา – NAC2021 http://10.228.26.24:31824/nac/2021 16th NSTDA Annual Conference Tue, 30 Mar 2021 09:10:16 +0000 en-US hourly 1 https://wordpress.org/?v=6.1.1 http://10.228.26.24:31824/nac/2021/wp-content/uploads/2021/02/cropped-nac-web-logo-01-32x32.png นักเรียนระดับมัธยมศึกษา – NAC2021 http://10.228.26.24:31824/nac/2021 32 32 Fun Science Buffet: Talk with outstanding young scientists http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/07/fun-science-buffet/ Sun, 07 Mar 2021 00:10:24 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=11364 Fun Science Buffet: Talk with outstanding young scientists 29 มีนาคม 2564 เวลา 09:00 – 11:00 น.         กิจกรรม “Fun Science Buffet: Talk with outstanding young scientists” เป็นการถ่ายทอดประสบการณ์จากผู้แทนประเทศไทยในโครงการพัฒนานักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีที่มีความเชี่ยวชาญในสาขา ต่างๆ แบบเจาะลึก โดยเหล่านักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่จะมาเล่างานวิจัยปัจจุบันในกลุ่มต่าง ๆ เช่น กลุ่มด้าน วิทยาศาสตร์การแพทย์และโรคอุบัติใหม่ กลุ่มด้านอาหารและโภชนาการ กลุ่มการทำงานของสมองและการเรียนรู้ กลุ่มคณิตศาสตร์เพื่อชีวิตและอนาคต และกลุ่มด้านโลก ดาราศาสตร์ เอกภพและจักรวาล รวมทั้งเส้นทางอาชีพนักวิทยาศาสตร์และนักวิจัยพร้อมเคล็ดลับที่ทำให้ประสบความสำเร็จและได้ร่วม กิจกรรมระดับโลกให้กับนักเรียนฟังในภาษาที่เข้าใจง่ายและเป็นกันเอง เพื่อให้นักเรียนที่อยากรู้และสนใจ ว่าวิทยาศาสตร์ในแต่ละสาขานั้นทำงานกันอย่างไร นอกจากนี้นักเรียนจะรู้สึกตื่นเต้นกับการค้นพบงานทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ในปัจจุบันด้วย โดยกิจกรรมนี้ประกอบด้วยการบรรยาย การสนทนาซักถาม […]

The post Fun Science Buffet: Talk with outstanding young scientists appeared first on NAC2021.

]]>

Fun Science Buffet: Talk with outstanding young scientists

29 มีนาคม 2564 
เวลา 09:00 – 11:00 น.

        กิจกรรม “Fun Science Buffet: Talk with outstanding young scientists” เป็นการถ่ายทอดประสบการณ์จากผู้แทนประเทศไทยในโครงการพัฒนานักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีที่มีความเชี่ยวชาญในสาขา ต่างๆ แบบเจาะลึก โดยเหล่านักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่จะมาเล่างานวิจัยปัจจุบันในกลุ่มต่าง ๆ เช่น กลุ่มด้าน วิทยาศาสตร์การแพทย์และโรคอุบัติใหม่ กลุ่มด้านอาหารและโภชนาการ กลุ่มการทำงานของสมองและการเรียนรู้ กลุ่มคณิตศาสตร์เพื่อชีวิตและอนาคต และกลุ่มด้านโลก ดาราศาสตร์ เอกภพและจักรวาล รวมทั้งเส้นทางอาชีพนักวิทยาศาสตร์และนักวิจัยพร้อมเคล็ดลับที่ทำให้ประสบความสำเร็จและได้ร่วม กิจกรรมระดับโลกให้กับนักเรียนฟังในภาษาที่เข้าใจง่ายและเป็นกันเอง เพื่อให้นักเรียนที่อยากรู้และสนใจ ว่าวิทยาศาสตร์ในแต่ละสาขานั้นทำงานกันอย่างไร นอกจากนี้นักเรียนจะรู้สึกตื่นเต้นกับการค้นพบงานทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ในปัจจุบันด้วย โดยกิจกรรมนี้ประกอบด้วยการบรรยาย การสนทนาซักถาม และการเล่นเกมออนไลน์ชิงรางวัล ทำให้นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้งานวิจัยในด้านต่าง ๆ และแนวทางการศึกษาและเส้นทางอาชีพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในอนาคต

วัตถุประสงค์
1. เพื่อสร้างความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้แก่เยาวชน
2. เพื่อสนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ในสาขาต่าง ๆ
3. เพื่อให้นักเรียนได้เห็นเส้นทางการศึกษาต่อในสาขาวิทยาศาสตร์ในอนาคต

วิดีโอบันทึกกิจกรรม

กำหนดการ

วันที่ 29 มีนาคม 2564

09.00 – 09.15 น.

กลุ่มด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์และโรคอุบัติใหม่
หัวข้อการบรรยาย “กำเนิดไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่และมหันตภัยคุกคามชาวโลก”
โดย ดร.ภคพฤฒ คุ้มวัน
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

09.15 – 09.30 น.

กลุ่มด้านอาหารและโภชนาการ
หัวข้อการบรรยาย “พี่อยากบอก…..กินอย่างไรให้สุขภาพดี”
โดย ดร.สิรภัทร แต่สุวรรณ
ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

09.30 – 10.00 น.

กลุ่มการทำงานของสมองและการเรียนรู้
หัวข้อการบรรยาย “เจาะลึกการทำงานสมอง & อารมณ์และความรู้: มหัศจรรย์ความเชื่อมโยง”
โดย ดร.นายแพทย์ นิธิ อัศวภาณุมาศ
สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

หัวข้อการบรรยาย “ทำไมบริษัทระดับโลกต้องลงมาเล่นเลโก้มากขึ้น หรือการเรียนรู้ จากเกมส์จะเป็นกระแสใหม่ในโลก?”
โดย ดร.ขจรวุฒิ อุ่นใจ
หลักสูตรวิศวกรรมชีวภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

10.00 – 10.15 น.

กลุ่มคณิตศาสตร์เพื่อชีวิตและอนาคต
หัวข้อการบรรยาย “คณิตพิชิตจักรวาล”
โดย ดร.ศุภณัฐ ชัยดี
ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

10.15 – 10.30 น.

กลุ่มด้านโลก ดาราศาสตร์ เอกภพและจักรวาล
หัวข้อการบรรยาย “Alien: where to find them? : ตามหาสิ่งมีชีวิตนอกโลก”
โดย ดร.เพชระ ภัทรกิจวานิช
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หัวข้อการบรรยาย “สนุกกับนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบล”
โดย ดร.ศุภชัย อาวิพันธุ์
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)

10.30 – 11.00 น.

ถาม – ตอบ

หมายเหตุ
กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม

เข้าร่วมสัมมนาด้วยโปรแกรม ZOOM เท่านั้น

เกี่ยวกับวิทยากร:

The post Fun Science Buffet: Talk with outstanding young scientists appeared first on NAC2021.

]]>
รักษ์โลก ผ่านสื่อโอริงามิ (Origami) http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/07/origami/ Sat, 06 Mar 2021 23:31:26 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=11388 รักษ์โลก ผ่านสื่อโอริงามิ (Origami) 29 มีนาคม 2564 เวลา 13.00 – 16.30 น. ขออภัย ขณะนี้จำนวนผู้เข้าสมัครเต็มแล้ว จากปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็น มลภาวะทางอากาศ (Air Pollution) เช่น การฟุ้งกระจายของฝุ่นละอองขนาดเล็ก หรือฝุ่น PM 2.5 มลภาวะทางน้ำ (Water Pollution) เช่น แม่น้ำ ลำคลองเน่าเหม็น มลภาวะทางแสง (Light Pollution) หรือแม้กระทั่งขยะอวกาศ (Space Junk) ล้วนแต่ส่งผลกระทบด้านลบต่อคุณภาพชีวิตของมนุษย์ได้ทั้งสิ้น ด้วยเหตุนี้ เพื่อให้เยาวชนได้ตระหนักถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นเหล่านี้ และเป็นส่วนหนึ่งในการป้องกันและแก้ไขปัญหา ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จึงจัดให้มีกิจกรรม “รักษ์โลก ผ่านสื่อโอริงามิ (Origami)” เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมนี้จะได้ฝึกทักษะการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมด้วยโอริงามิหรือศิลปะการพับกระดาษ กำหนดการ วันที่ 29 มีนาคม 2564 12.45 – […]

The post รักษ์โลก ผ่านสื่อโอริงามิ (Origami) appeared first on NAC2021.

]]>

รักษ์โลก ผ่านสื่อโอริงามิ (Origami)

29 มีนาคม 2564 
เวลา 13.00 – 16.30 น.

ขออภัย ขณะนี้จำนวนผู้เข้าสมัครเต็มแล้ว

        จากปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็น มลภาวะทางอากาศ (Air Pollution) เช่น การฟุ้งกระจายของฝุ่นละอองขนาดเล็ก หรือฝุ่น PM 2.5 มลภาวะทางน้ำ (Water Pollution) เช่น แม่น้ำ ลำคลองเน่าเหม็น มลภาวะทางแสง (Light Pollution) หรือแม้กระทั่งขยะอวกาศ (Space Junk) ล้วนแต่ส่งผลกระทบด้านลบต่อคุณภาพชีวิตของมนุษย์ได้ทั้งสิ้น ด้วยเหตุนี้ เพื่อให้เยาวชนได้ตระหนักถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นเหล่านี้ และเป็นส่วนหนึ่งในการป้องกันและแก้ไขปัญหา ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จึงจัดให้มีกิจกรรม “รักษ์โลก ผ่านสื่อโอริงามิ (Origami)” เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมนี้จะได้ฝึกทักษะการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมด้วยโอริงามิหรือศิลปะการพับกระดาษ

กำหนดการ

วันที่ 29 มีนาคม 2564

12.45 – 13.00 น.

เข้าระบบเพื่อเตรียมความพร้อม

13.00 – 13.40 น.

The Art & Science of Origami
โดย ดร. บัญชา ธนบุญสมบัติ
ผู้อำนวยการฝ่ายเผยแพร่เทคโนโลยี
ศูนย์เทคโนโลยีและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช.

13.40 – 15.00 น.

แลกเปลี่ยนความคิดเห็นผลงานการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมด้วยโอริงามิ

15.00 – 15.10 น.

พัก

15.10 – 16.00 น.

แลกเปลี่ยนความคิดเห็นผลงานการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมด้วยโอริงามิ (ต่อ)

16.00 – 16.30 น.

สรุปกิจกรรมและประกาศผลรางวัล

เกี่ยวกับวิทยากร:

The post รักษ์โลก ผ่านสื่อโอริงามิ (Origami) appeared first on NAC2021.

]]>
กิจกรรม 3D printing: Design your own 3D plant pot http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/07/3d-printing/ Sat, 06 Mar 2021 22:48:44 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=11436 กิจกรรม 3D printing: Design your own 3D plant pot วันที่ 27 มีนาคม 2564 09:00 – 12:00 น. ขออภัย ขณะนี้จำนวนผู้เข้าสมัครเต็มแล้ว         เทคโนโลยีการพิมพ์สามมิติ (3D printing) เป็นเทคโนโลยีที่ถูกพัฒนาการใช้งานมาเป็นระยะเวลาหนึ่งแล้ว จนปัจจุบันมีการพัฒนาจนสามารถขยายการใช้งานได้หลากหลายรูปแบบมากขึ้น อาทิ การสร้างที่อยู่อาศัยด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติ การสร้างชิ้นส่วนอุปกรณ์ด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติในเพอร์เซเวียแรนซ์ (Perseverance) หุ่นยนต์ตระเวนสำรวจดาวอังคารที่องค์การนาซาสร้างขึ้น เป็นต้น ดังนั้นการเรียนรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีการพิมพ์สามมิติจะเป็นการเปิดโลกทัศน์ให้ผู้เรียนโดยเฉพาะเยาวชน ได้เห็นการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของเทคโนโลยีในสังคมโลกอันจะนำไปสู่การคิดต่อยอดเพื่อบูรณาการกับความรู้ด้านอื่นได้ กำหนดการ วันที่ 27 มีนาคม 2564 09.00 – 09.30 น. เทคโนโลยีเครื่องพิมพ์สามมิติและนวัตกรรมต่างๆ ที่เกิดจากเครื่องพิมพ์สามมิติโดย นางสาววสุ ทัพพะรังสีนักวิชาการ ฝ่ายวิชาการ หลักสูตร และสื่อการเรียนรู้ สวทช. 09.30 – […]

The post กิจกรรม 3D printing: Design your own 3D plant pot appeared first on NAC2021.

]]>

กิจกรรม 3D printing: Design your own 3D plant pot

วันที่ 27 มีนาคม 2564
09:00 – 12:00 น.

ขออภัย ขณะนี้จำนวนผู้เข้าสมัครเต็มแล้ว

        เทคโนโลยีการพิมพ์สามมิติ (3D printing) เป็นเทคโนโลยีที่ถูกพัฒนาการใช้งานมาเป็นระยะเวลาหนึ่งแล้ว จนปัจจุบันมีการพัฒนาจนสามารถขยายการใช้งานได้หลากหลายรูปแบบมากขึ้น อาทิ การสร้างที่อยู่อาศัยด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติ การสร้างชิ้นส่วนอุปกรณ์ด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติในเพอร์เซเวียแรนซ์ (Perseverance) หุ่นยนต์ตระเวนสำรวจดาวอังคารที่องค์การนาซาสร้างขึ้น เป็นต้น ดังนั้นการเรียนรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีการพิมพ์สามมิติจะเป็นการเปิดโลกทัศน์ให้ผู้เรียนโดยเฉพาะเยาวชน ได้เห็นการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของเทคโนโลยีในสังคมโลกอันจะนำไปสู่การคิดต่อยอดเพื่อบูรณาการกับความรู้ด้านอื่นได้

กำหนดการ

วันที่ 27 มีนาคม 2564

09.00 – 09.30 น.

เทคโนโลยีเครื่องพิมพ์สามมิติและนวัตกรรมต่างๆ ที่เกิดจากเครื่องพิมพ์สามมิติ
โดย นางสาววสุ ทัพพะรังสี
นักวิชาการ ฝ่ายวิชาการ หลักสูตร และสื่อการเรียนรู้ สวทช.

09.30 – 10.00 น.

ปัจจัยการเจริญเติบโตของพืชอวบน้ำ (Succulent Plant)
โดย นางสาวนฤมล สุขเกษม
นักวิชาการ ฝ่ายวิชาการ หลักสูตร และสื่อการเรียนรู้ สวทช.

10.00 – 11.00 น.

การออกแบบชิ้นงานสามมิติด้วยโปรแกรม Tinkercad

11.00 – 12.00 น.

ออกแบบชิ้นงานกระถางต้นไม้ และสรุปกิจกรรม

เกี่ยวกับวิทยากร:

The post กิจกรรม 3D printing: Design your own 3D plant pot appeared first on NAC2021.

]]>
ขมิ้นชัน สมุนไพร…ไม่ธรรมดา http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/07/turmeric/ Sat, 06 Mar 2021 21:45:31 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=11448 ขมิ้นชัน สมุนไพร…ไม่ธรรมดา 27 มีนาคม 2564 เวลา 13:00 – 16:30 น. ขออภัย ขณะนี้จำนวนผู้เข้าสมัครเต็มแล้ว         เรียนรู้การผสมผสานระหว่างภูมิปัญญาไทยและวิทยาศาสตร์ จากขมิ้นชันสมุนไพรไทย ผ่านการลงมือทดลองและปฏิบัติ ตลอดจนการสร้างมูลค่าโดยใช้ความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาพัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ทางด้านอาหาร ยา เครื่องสำอางค์ กำหนดการ วันที่ 27 มีนาคม 2564 13.00 – 13.30 น. บรรยาย ขมิ้นชัน สมุนไพร…ไม่ธรรมดาโดย คุณกรกนก จงสูงเนินนักวิชาการอาวุโส ฝ่ายวิชาการ หลักสูตร และสื่อการเรียนรู้ สวทช. 13.30 – 14.10 น. กิจกรรม วิทยาศาสตร์ในขมิ้นชัน 14.10 – 14.20 น. พักเบรก 14.20 – 16.00 น. กิจกรรม […]

The post ขมิ้นชัน สมุนไพร…ไม่ธรรมดา appeared first on NAC2021.

]]>

ขมิ้นชัน สมุนไพร...ไม่ธรรมดา

27 มีนาคม 2564 
เวลา 13:00 – 16:30 น.

ขออภัย ขณะนี้จำนวนผู้เข้าสมัครเต็มแล้ว

        เรียนรู้การผสมผสานระหว่างภูมิปัญญาไทยและวิทยาศาสตร์ จากขมิ้นชันสมุนไพรไทย ผ่านการลงมือทดลองและปฏิบัติ ตลอดจนการสร้างมูลค่าโดยใช้ความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาพัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ทางด้านอาหาร ยา เครื่องสำอางค์

กำหนดการ

วันที่ 27 มีนาคม 2564

13.00 – 13.30 น.

บรรยาย ขมิ้นชัน สมุนไพร…ไม่ธรรมดา
โดย คุณกรกนก จงสูงเนิน
นักวิชาการอาวุโส
ฝ่ายวิชาการ หลักสูตร และสื่อการเรียนรู้ สวทช.

13.30 – 14.10 น.

กิจกรรม วิทยาศาสตร์ในขมิ้นชัน

14.10 – 14.20 น.

พักเบรก

14.20 – 16.00 น.

กิจกรรม วิทยาศาสตร์ในขมิ้นชัน (ต่อ)

16.00 – 16.30 น.

สรุปผลการทดลอง

เกี่ยวกับวิทยากร:

The post ขมิ้นชัน สมุนไพร…ไม่ธรรมดา appeared first on NAC2021.

]]>
สร้างชิ้นงานจากเครื่อง Laser Cutting http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/07/laser-cutting/ Sat, 06 Mar 2021 20:43:26 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=11683 สร้างชิ้นงานจากเครื่อง Laser Cutting 29 มีนาคม 2564 เวลา 09:00 – 12:00 น.29 มีนาคม 2564 เวลา 13:00 – 16:00 น.30 มีนาคม 2564 เวลา 09:00 – 12:00 น. ขออภัย ขณะนี้จำนวนผู้เข้าสมัครเต็มแล้ว       เพื่อพัฒนาทักษะทางด้านวิศวกรรม ผ่านการใช้เครื่องตัดเลเซอร์ (Laser cutter) เรียนรู้การนำรูปภาพมาแปลงให้เป็นเส้นเวกเตอร์ การตั้งค่าโปรแกรม AutoLaser รวมถึงกำหนดความเร็วและพลังงานที่ใช้ในการตัดชิ้นงาน เพื่อเตรียมความพร้อมกำลังคนสู่ฐานอนาคตในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ กำหนดการ 09.00 – 09.30 น. ทำความรู้จักกับ เครื่องตัดเลเซอร์โดย คุณปริญญา ผ่องสุภาวิศวกร โรงประลองต้นแบบทางวิศวกรรม (Fabrication Lab)ฝ่ายบริหารบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร สวทช.และ คุณนฤมล สุขเกษมนักวิชาการ ฝ่ายวิชาการ […]

The post สร้างชิ้นงานจากเครื่อง Laser Cutting appeared first on NAC2021.

]]>

สร้างชิ้นงานจากเครื่อง Laser Cutting

29 มีนาคม 2564 เวลา 09:00 – 12:00 น.
29 มีนาคม 2564 เวลา 13:00 – 16:00 น.
30 มีนาคม 2564 เวลา 09:00 – 12:00 น.

ขออภัย ขณะนี้จำนวนผู้เข้าสมัครเต็มแล้ว

      เพื่อพัฒนาทักษะทางด้านวิศวกรรม ผ่านการใช้เครื่องตัดเลเซอร์ (Laser cutter) เรียนรู้การนำรูปภาพมาแปลงให้เป็นเส้นเวกเตอร์ การตั้งค่าโปรแกรม AutoLaser รวมถึงกำหนดความเร็วและพลังงานที่ใช้ในการตัดชิ้นงาน เพื่อเตรียมความพร้อมกำลังคนสู่ฐานอนาคตในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ

กำหนดการ

09.00 – 09.30 น.

ทำความรู้จักกับ เครื่องตัดเลเซอร์
โดย คุณปริญญา ผ่องสุภา
วิศวกร โรงประลองต้นแบบทางวิศวกรรม (Fabrication Lab)
ฝ่ายบริหารบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร สวทช.
และ คุณนฤมล สุขเกษม
นักวิชาการ ฝ่ายวิชาการ หลักสูตร และสื่อการเรียนรู้ สวทช.

09.30 – 10.10 น.

การดาวน์โหลดไฟล์แบบ เพื่อนำมาใช้กับเครื่องตัดเลเซอร์
และการใช้งานโปรแกรม Inlscape เบื้องต้น

10.10 – 10.20 น.

พักเบรก

10.20 – 11.00 น.

การใช้งานโปรแกรม AutoLaser

11.00 – 12.00 น.

ออกแบบชิ้นงานด้วยตนเอง และส่งไฟล์กลับมามาให้ทีมผู้จัดกิจกรรม เพื่อดำเนินการตัดชิ้นงานส่งมอบต่อไป

เกี่ยวกับวิทยากร:

The post สร้างชิ้นงานจากเครื่อง Laser Cutting appeared first on NAC2021.

]]>
นวัตกรรมอาหารและการเกษตร “ตอน การเดินทางของน้องหัวมัน” http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/07/potato-balls/ Sat, 06 Mar 2021 19:35:33 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=11725 นวัตกรรมอาหารและการเกษตร “ตอน การเดินทางของน้องหัวมัน” 29 มีนาคม 2564 เวลา 13:00 – 16:30 น. ขออภัย ขณะนี้จำนวนผู้เข้าสมัครเต็มแล้ว       ชวนเด็ก ๆ มาเรียนรู้เกี่ยวกับการเดินทางของน้องหัวมัน ตั้งแต่ต้นทางการปลูก การดูแลรักษาเพื่อให้ได้หัวมันคุณภาพสูง จนถึงกระบวนการแปรรูปที่นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการผลิตแป้งจากหัวมัน ให้มีคุณสมบัติพิเศษ ซึ่งสามารถนำมาประกอบเมนูอาหารที่หลากหลายช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับมันสำปะหลังไทย กำหนดการ วันที่ 29 มีนาคม 2564 12.30 – 13.00 น. เข้าระบบเพื่อเตรียมความพร้อม 13.00 – 14.00 น. บรรยาย จุดเริ่มต้นการเดินทาง เรียนรู้กระบวนการปลูก การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช และธาตุอาหารของพืชหัวโดย วิทยากรจาก บริษัท เอสเอ็มเอส คอร์ปอเรชั่น จำกัด 14.00 – 14.10 น. พักรับประทานอาหารว่าง 14.10 – 15.00 […]

The post นวัตกรรมอาหารและการเกษตร “ตอน การเดินทางของน้องหัวมัน” appeared first on NAC2021.

]]>

นวัตกรรมอาหารและการเกษตร "ตอน การเดินทางของน้องหัวมัน"

29 มีนาคม 2564 
เวลา 13:00 – 16:30 น.

ขออภัย ขณะนี้จำนวนผู้เข้าสมัครเต็มแล้ว

      ชวนเด็ก ๆ มาเรียนรู้เกี่ยวกับการเดินทางของน้องหัวมัน ตั้งแต่ต้นทางการปลูก การดูแลรักษาเพื่อให้ได้หัวมันคุณภาพสูง จนถึงกระบวนการแปรรูปที่นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการผลิตแป้งจากหัวมัน ให้มีคุณสมบัติพิเศษ ซึ่งสามารถนำมาประกอบเมนูอาหารที่หลากหลายช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับ
มันสำปะหลังไทย

กำหนดการ

วันที่ 29 มีนาคม 2564

12.30 – 13.00 น.

เข้าระบบเพื่อเตรียมความพร้อม

13.00 – 14.00 น.

บรรยาย จุดเริ่มต้นการเดินทาง
เรียนรู้กระบวนการปลูก การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช และธาตุอาหารของพืชหัว
โดย วิทยากรจาก บริษัท เอสเอ็มเอส คอร์ปอเรชั่น จำกัด

14.00 – 14.10 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

14.10 – 15.00 น.

กิจกรรม น้องหัวมันแปลงกาย
รู้จักกับแป้งจากพืชชนิดต่าง ๆ รอบตัว และเรียนรู้กระบวนการแปรรูปจากหัวมันสู่แป้งมัน ซึ่งถูกดัดแปลงคุณสมบัติต่าง ๆ ให้มีความพิเศษเหมาะสมกับการนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ
โดย วิทยากรจาก บริษัท เอสเอ็มเอส คอร์ปอเรชั่น จำกัด

15.00 – 15.40 น.

กิจกรรม เมนูอาหารจากแป้งน้องหัวมัน
เรียนรู้การนำแป้งจากหัวมัน มาประกอบอาหารเมนูต่าง ๆ ตามคุณสมบัติของแป้ง เช่น ความกรอบ ความเหนียว เป็นต้น
โดย วิทยากรจาก บริษัท เอสเอ็มเอส คอร์ปอเรชั่น จำกัด

15.40 – 16.00 น.

บรรยายพิเศษ เส้นทางอาชีพนักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
ในอุตสาหกรรมด้านอาหารและการเกษตร
โดย วิทยากรจาก บริษัท เอสเอ็มเอส คอร์ปอเรชั่น จำกัด

หมายเหตุ กำหนดการอาจปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม

เกี่ยวกับวิทยากร:

The post นวัตกรรมอาหารและการเกษตร “ตอน การเดินทางของน้องหัวมัน” appeared first on NAC2021.

]]>