Smart farm – NAC2021 http://10.228.26.24:31824/nac/2021 16th NSTDA Annual Conference Wed, 16 Jun 2021 08:31:21 +0000 en-US hourly 1 https://wordpress.org/?v=6.1.1 ../../wp-content/uploads/2021/02/cropped-nac-web-logo-01-32x32.png Smart farm – NAC2021 http://10.228.26.24:31824/nac/2021 32 32 การบริหารจัดการน้ำตามความต้องการพืช http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/02/27/ss50-water-management-plant-requirement/ Sat, 27 Feb 2021 11:32:36 +0000 http://10.228.25.4:10075/nac/2021/?p=5968 การบริหารจัดการน้ำ ตามความต้องการพืช การบริหารจัดการน้ำตามความต้องการพืช Water Management According to Plant Requirement         ทรัพยากรน้ำเป็นสิ่งที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ ทั้งด้านการเกษตรกรรม การอุตสาหกรรม ฯลฯ แต่เนื่องจากปัจจุบัน มีความต้องการใช้ทรัพยากรน้ำเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนไป จึงนำไปสู่ปัญหาน้ำท่วมในฤดูฝนและขาดแคลนน้ำในฤดูแล้ง ซึ่งมีแนวโน้มที่จะทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้น         ดังนั้น การจัดการให้พืชได้รับน้ำอย่างเพียงพอและเหมาะสมตามความต้องการของพืช และลดปริมาณการใช้น้ำที่เกินจำเป็น การใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการบริหารจัดการน้ำจึงเป็นหนึ่งในแนวทางการควบคุมคุณภาพของผลผลิตที่มีประสิทธิภาพในยุคที่ทรัพยากรน้ำมีจำกัด         การวางระบบน้ำให้เหมาะสมกับพื้นที่เป็นหนึ่งในวิธีการช่วยลดต้นทุน แรงงาน ความเสี่ยงจากผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตลอดจนการเพิ่มผลผลิต จึงจำเป็นต้องอาศัยเครื่องมือ หรือเทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาช่วย อาทิ ระบบควบคุมน้ำในพืชไร่/พืชสวน เทคโนโลยีเซนเซอร์ (Sensor) ร่วมกับการใช้หลักการของการให้น้ำพืช ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะถูกนำมาใช้ประมวลผลจนกลายเป็นข้อมูลความต้องการของพืช       สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ภายใต้สังกัดสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จึงได้จัดกิจกรรมสัมมนาเชิงวิชาการผ่านสื่อออนไลน์ […]

The post การบริหารจัดการน้ำตามความต้องการพืช appeared first on NAC2021.

]]>

การบริหารจัดการน้ำ

ตามความต้องการพืช

การบริหารจัดการน้ำตามความต้องการพืช

Water Management According to Plant Requirement

        ทรัพยากรน้ำเป็นสิ่งที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ ทั้งด้านการเกษตรกรรม การอุตสาหกรรม ฯลฯ แต่เนื่องจากปัจจุบัน มีความต้องการใช้ทรัพยากรน้ำเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนไป จึงนำไปสู่ปัญหาน้ำท่วมในฤดูฝนและขาดแคลนน้ำในฤดูแล้ง ซึ่งมีแนวโน้มที่จะทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้น

        ดังนั้น การจัดการให้พืชได้รับน้ำอย่างเพียงพอและเหมาะสมตามความต้องการของพืช และลดปริมาณการใช้น้ำที่เกินจำเป็น การใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการบริหารจัดการน้ำจึงเป็นหนึ่งในแนวทางการควบคุมคุณภาพของผลผลิตที่มีประสิทธิภาพในยุคที่ทรัพยากรน้ำมีจำกัด

        การวางระบบน้ำให้เหมาะสมกับพื้นที่เป็นหนึ่งในวิธีการช่วยลดต้นทุน แรงงาน ความเสี่ยงจากผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตลอดจนการเพิ่มผลผลิต จึงจำเป็นต้องอาศัยเครื่องมือ หรือเทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาช่วย อาทิ ระบบควบคุมน้ำในพืชไร่/พืชสวน เทคโนโลยีเซนเซอร์ (Sensor) ร่วมกับการใช้หลักการของการให้น้ำพืช ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะถูกนำมาใช้ประมวลผลจนกลายเป็นข้อมูลความต้องการของพืช

      สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ภายใต้สังกัดสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จึงได้จัดกิจกรรมสัมมนาเชิงวิชาการผ่านสื่อออนไลน์ เรื่อง “การบริหารจัดการน้ำตามความต้องการพืช” เพื่อให้เกษตรกรสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้

วิดีโอบันทึกการสัมมนา

กำหนดการ

วันที่ 29 มีนาคม 2564

13.00-13.15 น.

แนะนำสถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร

13.15-14.15 น.

การบริหารจัดการน้ำตามความต้องการของพืช

โดย รศ.ดร. สุภัทร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา
สาขาวิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

14.15-15.15 น.

ประสบการณ์การบริหารจัดการน้ำตามความต้องการพืช

โดย คุณเฉลิมชัย เอี่ยมสอาด
นักวิชาการอาวุโส สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร/สวทช.

15.15-15.30 น.

ถาม-ตอบ

เกี่ยวกับวิทยากร:

The post การบริหารจัดการน้ำตามความต้องการพืช appeared first on NAC2021.

]]>
พลังงานกับการเกษตรยุคเศรษฐกิจดิจิทัล 5.0 http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/02/26/ss51-energy-agriculture/ Fri, 26 Feb 2021 04:25:00 +0000 http://10.228.25.4:10075/nac/2021/?p=5482 พลังงานกับการเกษตรยุคเศรษฐกิจดิจิทัล 5.0 พลังงานกับการเกษตรยุคเศรษฐกิจดิจิทัล 5.0         ภาคการเกษตรมีบทบาทสำคัญมากในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งในด้านการผลิตอาหาร วัตถุดิบตั้งต้นในภาคอุตสาหกรรม และการผลิตพลังงานทดแทน โดยเป็นแหล่งรายได้ให้แก่ประชากรส่วนใหญ่ รวมถึงเป็นฐานการผลิตที่สนับสนุนการสร้างมูลค่าเพิ่มเพื่อการค้าและการส่งออกสำหรับภาคการผลิตและบริการอื่น ๆ         จากการเติบโตทางเศรษฐกิจและการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร ทำให้มีการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามาประยุกต์ใช้กับภาคเกษตรมากยิ่งขึ้น เพื่อควบคุมผลผลิตให้มีความสม่ำเสมอทั้งปริมาณและคุณภาพ รวมถึงการควบคุมการใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่างแม่่นยำและคุ้มค่า ตามแนวทางโมเดลเศรษฐกิจใหม่ “ทำน้อยแต่ได้มาก”         ด้วยเหตุนี้ จึงเป็นที่มาของการเสวนาเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์จากผู้เข้าร่วมเสวนา รวมถึงแนวทางที่จะช่วยการส่งเสริมและเพิ่มขีดความสามารถด้านการใช้พลังงานในภาคเกษตรกรรม ซึ่งนอกจากจะสามารถช่วยลดการใช้พลังงานของประเทศแล้ว ยังเป็นการส่งเสริมให้ภาคการเกษตรมีรายได้เพิ่มขึ้น โดยการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านพลังงานมาประยุกต์ใช้อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มความสามารถในการแข่งขันได้อย่างยั่งยืน วิดีโอบันทึกการสัมมนา https://www.youtube.com/watch?v=au555xD2lgU เอกสารประกอบการสัมมนา พลังงานกับการเกษตรยุคเศรษฐกิจดิจิทัล 5.0โดย สุภกิณห์ สมศรี โซล่ารเ์ซลล์กับการเกษตรโดย ผศ.ดร.สุรเชษฐ เดชฟุ้ง การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ไฟฟ้าในโรงงานผลิตพืชด้วยแสงเทียมโดย รศ.ดร.ธรรมศักดิ์ ทองเกตุ “Aqua-IoT” เทคโนโลยีเพื่อการบริหารจัดการฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำยุคเกษตรดิจิทัลโดย ดร.ศุภนิจ พรธีระภัทร กำหนดการ วันที่ 30 […]

The post พลังงานกับการเกษตรยุคเศรษฐกิจดิจิทัล 5.0 appeared first on NAC2021.

]]>

พลังงานกับการเกษตรยุคเศรษฐกิจดิจิทัล 5.0

พลังงานกับการเกษตรยุคเศรษฐกิจดิจิทัล 5.0

        ภาคการเกษตรมีบทบาทสำคัญมากในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งในด้านการผลิตอาหาร วัตถุดิบตั้งต้นในภาคอุตสาหกรรม และการผลิตพลังงานทดแทน โดยเป็นแหล่งรายได้ให้แก่ประชากรส่วนใหญ่ รวมถึงเป็นฐานการผลิตที่สนับสนุนการสร้างมูลค่าเพิ่มเพื่อการค้าและการส่งออกสำหรับภาคการผลิตและบริการอื่น ๆ

        จากการเติบโตทางเศรษฐกิจและการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร ทำให้มีการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามาประยุกต์ใช้กับภาคเกษตรมากยิ่งขึ้น เพื่อควบคุมผลผลิตให้มีความสม่ำเสมอทั้งปริมาณและคุณภาพ รวมถึงการควบคุมการใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่างแม่่นยำและคุ้มค่า ตามแนวทางโมเดลเศรษฐกิจใหม่ “ทำน้อยแต่ได้มาก”

        ด้วยเหตุนี้ จึงเป็นที่มาของการเสวนาเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์จากผู้เข้าร่วมเสวนา รวมถึงแนวทางที่จะช่วยการส่งเสริมและเพิ่มขีดความสามารถด้านการใช้พลังงานในภาคเกษตรกรรม ซึ่งนอกจากจะสามารถช่วยลดการใช้พลังงานของประเทศแล้ว ยังเป็นการส่งเสริมให้ภาคการเกษตรมีรายได้เพิ่มขึ้น โดยการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านพลังงานมาประยุกต์ใช้อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มความสามารถในการแข่งขันได้อย่างยั่งยืน

วิดีโอบันทึกการสัมมนา

กำหนดการ

วันที่ 30 มีนาคม 2564

13.00-13.15 น.

กล่าวต้อนรับและเปิดการประชุม

โดย ประธานบริหารโครงการร่วมสนับสนุนทุนวิจัยและพัฒนา กฟผ. – สวทช.

13.15-14.15 น.

  • ภาพรวมเทคโนโลยีพลังงานกับการเกษตรในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล 5.0 

คุณสุภกิณห์ สมศรี ผู้ทรงคุณวุฒิด้านพลังงาน

  • Case study: Solar Sharing / Agrivoltaic 

ผศ.ดร.สุรเชษฐ เดชฟุ้ง  คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

  • Case study: Smart farm / การเพิ่มประสิทธิภาพพลังงานในโรงเรือนเพาะปลูก  

ดร.ศุภนิจ พรธีระภัทร     ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ

รศ.ดร.ธรรมศักดิ์ ทองเกตุ    คณะเกษตรศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร

14.15-14.45 น.

การเสวนาด้านนวัตกรรมพลังงานกับภาคการเกษตร 

รายชื่อผู้ร่วมเสวนา

1. นายพินิจ ศิริพฤกษ์พงษ์
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านพลังงาน

2. ผศ.ดร.สุรเชษฐ เดชฟุ้ง
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

3. รศ.ดร.ธรรมศักดิ์ ทองเกตุ
คณะเกษตรศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร

4. ดร.ศุภนิจ พรธีระภัทร
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ

5. คุณสุภกิณห์ สมศรี 
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านพลังงาน

ดำเนินการเสวนา โดย
รศ.ดร.ศุภชาติ จงไพบูลย์พัฒนะ 
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านพลังงาน

14.45-15.00 น.

ถาม-ตอบ

เกี่ยวกับวิทยากร:

The post พลังงานกับการเกษตรยุคเศรษฐกิจดิจิทัล 5.0 appeared first on NAC2021.

]]>