08.00 – 08.30 น. |
ลงทะเบียน
ดำเนินรายการโดย ดร. เสจ ไชยเพ็ชร และคุณหงส์สุดา ทาระคำ
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ |
08.30 – 09.00 น. |
พิธีเปิด และ การแถลงข่าวความร่วมมือการพัฒนาจุลินทรีย์เพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำระหว่าง กรมประมง และ สวทช.
โดย อธิบดีกรมประมง และ ผู้อำนวยการศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ |
09.00 – 09.15 น. |
การบรรยายประกอบการแถลงข่าว เรื่อง การคัดเลือกและทดสอบประสิทธิภาพจุลินทรีย์ Bacillus subtilis Natto (BSN-1)
โดย ดร.ชุมพร สุวรรณยาน, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ |
09.15 – 09.30 น. |
การบรรยายประกอบการแถลงข่าว เรื่อง หัวเชื้อจุลินทรีย์ ปม.2 กับการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล
โดย ดร. ชัยวุฒิ สุดทองคง, กรมประมง |
09.30 – 10.20 น. |
การบรรยายนำ เรื่อง การพัฒนาอุตสาหกรรมสัตว์น้ำของประเทศไทยให้สอดคล้องกับแนวทาง BCG และ Thailand 4.0
โดย คุณเปรมศักดิ์ วนัชสุนทร, บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) |
10.20 – 10.50 น. |
พักรับประทานอาหารว่าง
ดำเนินรายการโดย ดร. อนุภาพ ประชุมวัด, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ |
10.50 – 11.20 น. |
การบรรยายพิเศษ เรื่อง การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำมุ่งสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอนและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์
โดย ดร. พุทธ ส่องแสงจินดา, ที่ปรึกษากรมประมง |
11.20 – 12.00 น. |
การบรรยายพิเศษ เรื่อง แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อตอบสนองเป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอน
โดย ดร. นงนุช พูลสวัสดิ์, สถาบันเทคโนโลยีและสารสนเทศเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน สวทช. |
12.00 – 13.00 น. |
พักรับประทานอาหารกลางวันตามอัธยาศัย |
13.00 – 14.00 น. |
Aquaculture Flash Talks นวัตกรรมเพื่ออนาคตการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ (ช่วงที่ 1)
ดำเนินรายการโดย ดร. เสจ ไชยเพ็ชร, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
- ความสำเร็จในการถอดรหัสจีโนมกุ้งกุลาดำและประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมกุ้งไทย
โดย ดร. นิศรา การุณอุทัยศิริ, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
- การปรับปรุงพันธุกรรมกุ้งขาว
โดย ดร. ศิราวุธ กลิ่นบุหงา, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
- การแปลงเพศกุ้งก้ามกรามเพื่อผลิตกุ้งก้ามกรามเพศผู้ล้วน
โดย ดร. เปรมฤทัย สุพรรณกูล, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
- นาโนเทคโนโลยี: กลยุทธใหม่ของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
โดย ดร. คทาวุธ นามดี, ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแหงชาติ
- นวัตกรรมทางเลือกอาหารเสริมป้องกันโรคสัตว์น้ำโดยใช้สาหร่ายเซลล์เดียว
โดย ดร. วรรณวิมล ศักดิ์เสมอพรหม, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
- ปลานิลสายพันธุ์ใหม่เพื่อการเลี้ยงในระบบน้ำหมุนเวียน
โดย คุณคงภพ อำพลศักดิ์, กองวิจัยและพัฒนาพันธุกรรมสัตว์น้ำ กรมประมง
|
14.00 – 14.20 น. |
การบรรยายเรื่อง สมาคมปลานิลไทยกับการยกระดับปลานิลไปสู่ตลาดโลก
โดย คุณอมร เหลืองนฤมิตรชัย, นายกสมาคมปลานิลไทย |
14.20 – 14.40 น. |
พักรับประทานอาหารว่าง |
14.40 – 15.40 น. |
Aquaculture Flash Talks นวัตกรรมเพื่ออนาคตการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ (ช่วงที่ 2)
ดำเนินรายการโดย ดร. กัลยาณ์ ศรีธัญญลักษณา-แดงติ๊บ, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
- Aqua-IoT กับการเลี้ยงสัตว์น้ำ
โดย คุณเสกสรรค์ ศาสตร์สถิต, ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
- ความสำคัญของระบบการเลี้ยงสัตว์น้ำแบบน้ำไหลเวียน (RAS)
โดย ดร. ยศกร ประทุมวัลย์, ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
- ไมโครไบโอมกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
โดย ดร.เสจ ไชยเพ็ชร, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
- ชุดตรวจแลมป์ เทคนิคการตรวจคัดกรองโรคกุ้งที่ฝึกกันได้ และจำเป็นต้องมี
โดย คุณวรรณสิกา เกียรติปฐมชัย, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
- การวิจัยและใช้ประโยชน์โคพีพอดเพื่อเป็นอาหารสัตว์น้ำวัยอ่อน
โดย ดร.ปิติ อ่ำพายัพ, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
- วัคซีนต้านโรคไวรัสในกุ้ง: ความหวังแห่งอนาคต
โดย ดร. กัลยาณ์ ศรีธัญญลักษณา-แดงติ๊บ,ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
|
15.40 – 16.30 น. |
เสวนา เรื่อง ทิศทางการทำงานของ สวทช. เพื่อการสนับสนุนอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์น้ำของประเทศในปัจจุบันและอนาคต
ผู้ร่วมเสวนา
- คุณบรรจง นิสภวาณิชย์, สมาพันธ์การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำไทย
- คุณสุทธิ มะหะเลา, สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาทะเลไทย
- คุณสมประสงค์ เนตรทิพย์, ชมรมผู้ผลิตลูกพันธุ์สัตว์น้ำ
- คุณชาลี จิตรประสงค์, ชมรมผู้เลี้ยงกุ้งฉะเชิงเทรา
ดำเนินรายการโดย ดร. สรวิศ เผ่าทองศุข, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ |
16.30 น. |
ปิดการสัมมนา |