Hydrogen Railway Dissemination Online Workshop
วันที่ 7 มีนาคม 2567 ทีมวิจัย สวทช. นำเสนอผลการวิจัย โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการประยุกต์ใช้ไฮโดรเจนสีเขียวสำหรับระบบขนส่งทางรางในประเทศไทย (Feasibility Study on Applications of Green Hydrogen to
วันที่ 7 มีนาคม 2567 ทีมวิจัย สวทช. นำเสนอผลการวิจัย โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการประยุกต์ใช้ไฮโดรเจนสีเขียวสำหรับระบบขนส่งทางรางในประเทศไทย (Feasibility Study on Applications of Green Hydrogen to
ขอเชิญร่วมงานสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การวิเคราะห์ความเสียหายทางโลหะวิทยา ครั้งที่ 8” (The 8th Workshop on Metallurgical Failure Analysis 2024) ระหว่างวันที่ 5-9 สิงหาคม 2567 ณ โรงแรมฮาร์ดร็อค พัทยา จ.ชลบุรี
โครงการที่อยู่ระหว่างดำเนินการ 1. การพัฒนาเทคโนโลยีขับขี่อัตโนมัติที่เหมาะกับการใช้งานภายใต้สภาพเงื่อนไขประเทศไทย การขยายตัวของเมือง การขนส่งมวลชนแบบสาธารณะอย่างรถไฟลอยฟ้าและรถไฟใต้ดินเริ่มเข้ามามีบทบาทต่อชีวิตประจำวันของคนเมืองมากขึ้น การเคลื่อนย้ายคนที่เดินทางจากบริเวณที่อยู่อาศัยไปสู่บริเวณที่มีระบบการขนส่งแบบสาธารณะก็เริ่มมีความจำเป็นมากขึ้นเช่นเดียวกัน จากความสำเร็จในการพัฒนารถกอล์ฟขับขี่อัตโนมัติขนาด 6 ที่นั่ง ทีมวิจัยจึงนำมาขยายผลและพัฒนาต่อยอดเป็น “Autonomous-driving Feeder” ซึ่งเป็นยานยนต์ขับขี่อัตโนมัติระดับ
Target Output Profile (TOP) TOP#1 Automated and predictive maintenance TOP 1.1 : Life prediction and