พัฒนาชาติ พัฒนาธุรกิจ ด้วยพลังวิทย์และนวัตกรรม

  • วันพฤหัสบดีที่ 8 กันยายน 2559
  • วันศุกร์ที่ 9 กันยายน 2559
  • วันเสาร์ที่ 10 กันยายน 2559
เวลา ห้องเพลนารี 3
10.00 – 11.00 น. ลงทะเบียนเข้าร่วมงาน
11.00 – 11.10 น. กล่าวรายงานความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของการจัดงาน
โดย ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
11.10 - 11.30 น. กล่าวเปิดงานและปาฐกถาพิเศษ “New S Curve กับการขับเคลื่อนประเทศสู่ Thailand 4.0”
โดย ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
11.30 – 11.40 น. พิธีเปิดงาน พร้อมถ่ายภาพ
11.40 – 12.00 น. กิตติกรรมประกาศความร่วมมือ
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวันตามอัธยาศัย และเยี่ยมชมนิทรรศการ
13.00 – 14.00 น. “Chemicals 4.0 : Co-create a Sustainable Future"
โดย ดร.ชญาน์ จันทวสุ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงาน Science & Innovation บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด
14.00 – 15.30 น. เสวนาพิเศษ เรื่อง “จะก้าวผ่านกับดักประเทศ เพื่อก้าวสู่ไทยแลนด์ 4.0 ได้อย่างไร?”
ประเทศไทยเผชิญกับกับดักประเทศรายได้ขนาดปานกลางมาเป็นเวลานาน เพราะประเทศเต็มไปด้วยความเหลื่อมลํ้า ทุจริตคอร์รัปชั่น และเผชิญกับความขัดแย้งที่รุนแรงในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา จำเป็นที่ต้องมีการปฏิรูปประเทศครั้งใหญ่ เพื่อให้ประเทศขยับเป็นประเทศที่มีรายได้สูง โมเดลไทยแลนด์ 4.0 เป็นวิสัยทัศน์ที่รัฐบาล พลเอกประยุทธ จันทร์โอชา กำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ ให้มีความชัดเจนและสอดคล้องกับประเด็นท้าทายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น โดยยึด “ผลประโยชน์ชาติ” เป็นสำคัญ เป็นประเด็นความน่าสนใจและมีส่วนเกี่ยวข้องกับประชาชนทุกภาคส่วน โดยเฉพาะในเรื่องของนวัตกรรมซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการนำไปสู่โมเดลไทยแลนด์ 4.0 สวทช. ในฐานะหน่วยงานของรัฐที่มีบทบาทสำคัญในการสร้างคุณค่าให้แก่เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยอาศัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นฐาน จึงขอร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการผลักดันโมเดลไทยแลนด์ 4.0 ให้เป็นรูปธรรม หนึ่งในการดำเนินการที่สำคัญคือการให้ข้อมูลที่สำคัญ ผ่านการเสวนาพิเศษเรื่อง “จะก้าวผ่านกับดักประเทศ เพื่อก้าวสู่ไทยแลนด์ 4.0 ได้อย่างไร?” โดยได้เชิญวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ มีความรู้ ความสามารถและเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง จากหลากหลายภาคส่วนมาให้ข้อมูล มุมมอง และความคิดเห็นเพื่อเป็นประโยชน์แก่ทุกภาคส่วนที่สนใจเข้ารับฟัง และเข้าใจ เพื่อจะได้ผนึกกำลังกันในการร่วมปรับเปลี่ยนให้ประเทศของเราเป็นไทยแลนด์ 4.0 ที่มีความมั่งคั่ง มั่นคง และยั่งยืน ต่อไป โดย
  • ดร.สมชัย จิตสุชน ผู้อำนวยการวิจัยด้านการพัฒนาอย่างทั่วถึง สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
    • มุมมองของนักการศึกษาต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศที่ผ่านมา และแนวทางการในการยกระดับเศรษฐกิจของประเทศไปสู่ไทยแลนด์ 4.0
  • นายรุ่งโรจน์ รังสิโยภาส กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปูนซิเมนต์ จำกัด (มหาชน)
    • มุมมองภาคเอกชนรายใหญ่ การเตรียมองคาพยพขององค์กรสู่ไทยแลนด์ 4.0
  • นายอิสระ ว่องกุศลกิจ ประธานกรรมการหอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
    • มุมมองภาคเอกชนรายกลางถึงรายย่อย ต่อการปรับตัว ความต้องการการสนับสนุนเพื่อปรับตัวสู่ ไทยแลนด์ 4.0
  • นางสาวดวงใจ อัศวจินตจิตร์ รองเลขาธิการ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
    • มุมมองเรื่องแนวทางหรือกลไกการส่งเสริมการลงทุนของอุตสาหกรรม เพื่อยกระดับเศรษฐกิจสู่ ไทยแลนด์ 4.0
  • ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ที่ปรึกษาอาวุโส สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
    • มุมมองด้าน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศสู่ไทยแลนด์ 4.0
ดำเนินรายการ โดย : ดร.ภูมิพร ธรรมสถิตย์เดช ผู้ช่วยคณบดี ฝ่ายสื่อสารองค์กร วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
15.30 – 16.30 น. Open Innovation & Business Integration
โดย ดร.สุรชา อุดมศักดิ์ ผู้อำนวยการวิจัยและพัฒนา และหัวหน้ากลุ่มธุรกิจเทคโนโลยี บริษัท เอสซีจี เคมิคอลส์ จำกัด

กำหนดการนำเสนอผลงานวิจัย

(ดูรายละเอียดเพิ่มเติม)

  เวที 1 เวที 2 เวที 3 (เทคโนโลยีไฮไลท์)
13.30 - 13.45 น. เทคโนโลยีการผลิตผลิตภัณฑ์ใยอาหารชนิดละลายน้ำได้จากเปลือกมะม่วง (สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย) เจลแต้มสิวที่มีผลต้านแบคทีเรียก่อสิวที่ประกอบด้วยโปรตีนชีวสารกิ่งบริสุทธิ์ (มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์) เม็ดแมงลักพองตัวสูง (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
13.45 - 14.00 น. ผลิตภัณฑ์มะขามป้อมลอยแก้ว(สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย) กรรมวิธีการเตรียมสารสกัดและการพัฒนาสูตรชาเขียวและส้มแขกที่มีฤทธิ์ในการลดไขมันและน้ำหนัก (มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์) กรรมวิธีการย้อมผ้าสีฟ้าจากคอคอเด๊าะ (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา)
14.00 - 14.15 น. ผลิตภัณฑ์มะขามป้อมแช่อิ่มอบแห้ง (สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย) เจลที่มีส่วนผสมของสารสกัดจากกากเมล็ดชาเพื่อใช้ในการต้านเชื้อราที่ผิวหนัง (มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง) นาโนอีมัลชันโลชันบำรุงผิวจากสารสกัดน้ำมันรำข้าวสังข์หยดและทานาคา (มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์)
14.15 - 14.30 น. ผลิตภัณฑ์มะขามป้อมแผ่นกวน (สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย) เจลที่มีส่วนผสมของสารสกัดเนระพูสีไทยสำหรับบรรเทาอาการอักเสบ (มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง) เซรั่มจากสารสกัดโปรตีนไหม (สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ BEDO)
14.30 - 14.45 น. ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มชิกพี (สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย) ผลิตภัณฑ์น้ำมันนวดที่มีส่วนผสมของน้ำมันหอมระเหยจากผลมะแขว่น (มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง) ผลิตภัณฑ์ตำรับโอสถพระนารายณ์ (สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพBEDO)
14.45 - 15.00 น. Vietnamese Hamburger (สถาบันจัดการปัญญาภิวัฒน์) สารผสมสำหรับบรรเทาอาการปวดและอักเสบที่มีสารสกัดเนระพูสีไทย   (มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง) ซีเมนต์กระดูกแบบฉีดสำหรับการทดแทนกระดูก (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย)
15.00 - 15.15 น. นวัตกรรมหุ่นแขนให้ยา และสารน้ำทางหลอดเลือด (มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี) ครีมบำรุงฝ่าเท้าจากกราวเครือ (มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี) แผ่นปิดแผลชนิดล้างออกได้ จากผงวุ้นว่านหางจระเข้ ผสมสารสกัดบัวบก (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์)
15.15 - 15.30 น. สูตรตำรับยาสมุนไพรสำหรับแก้ไอ (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์) การพัฒนาครีมหมักผมจากสารสกัดตะไคร้ (Development of hair treatment from lemongrass extract) (มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา) ชุดถุงทวารเทียมจากยางพาราสกัดโปรตีน (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์)
15.30 - 15.45 น. เครื่องดิจิตอลอิมเมจคัลเลอริมิเตอร์ที่อาศัยไอพอดแบบพกพาสะดวก (มหาวิทยาลัยนเรศวร) โลชั่นบำรุงผิวผสมอนุภาคไมโคร/นาโนซิลค์เพื่อลดริ้วรอยเหี่ยวย่นและทำให้ผิวหนังชุ่มชี้น (มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี)
15.45 - 16.00 น. กรรมวิธีการผลิตตัวดูดซับโลหะหนักจากเศษสับปะรด (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา) นวัตกรรมลูกอมเจลลี่หญ้าดอกขาวช่วยเลิกบุหรี่ (มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี)  
16.00 - 16.15 น. อุปกรณ์สำหรับตรวจเท้าผู้ป่วยเบาหวานที่มีตัวกำหนดระดับน้ำหนัก (มหาวิทยาลัยบูรพา) นวัตกรรมคุกกี้ช่วยเลิกบุหรี่ (มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี)
เวลา ห้องเพลนารี 3
09.00 – 09.30 น. ลงทะเบียนเข้าร่วมงาน
09.30 – 10.15 น. NSTDA Investors’ Day 2016: การบรรยาย เรื่อง “10 เทคโนโลยีที่น่าจับตามองสำหรับธุรกิจ
(10 Technologies to Watch for Business)”

โดย ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
10.15 – 11.30 น. NSTDA Investors’ Day 2016: Investment Pitching Session (นำเสนอผลงานละ 7 นาที)
  • ผลงานเด่นของ สวทช. 5 ผลงาน
  • ผลงานจากหน่วยงานพันธมิตร 6 ผลงาน
11.30 – 12.00 น. ช่วงการโหวตให้คะแนน
  • ผลงานที่น่าลงทุนที่สุด (The most interesting technology for investment)
  • ผลงานที่นำเสนอได้ดีที่สุด (The best presentation)
พิธีมอบรางวัล
12.00 - 13.30 น. พักรับประทานอาหารกลางวันตามอัธยาศัย และเยี่ยมชมนิทรรศการ
14.00 – 15.30 น. เสวนาพิเศษ เรื่อง “บัญชีนวัตกรรมไทย : เข้าถึงตลาดภาครัฐ มาตรฐานก้าวไกล เพื่ออุตสาหกรรมไทยยุค 4.0” คณะกรรมการพัฒนาระบบนวัตกรรมของประเทศ (คพน.) ซึ่งมีท่านนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา) เป็นประธาน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการเพิ่มขีดความสามารถด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อให้มีการสร้างสรรค์นวัตกรรมของประเทศที่สามารถแข่งขันกับนานาประเทศได้ รวมทั้งสร้างความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนให้แก่ประเทศในระยะยาว ตามโมเดลไทยแลนด์ 4.0 จึงเป็นที่มาของนโยบาย ‘บัญชีนวัตกรรมไทย’ ซึ่งเป็นมาตรการที่ใช้การจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานภาครัฐเป็นเครื่องมือทางนโยบายในการสนับสนุน และส่งเสริมผู้ประกอบการไทยในการนำผลงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมไทย ให้สามารถผลิตสู่เชิงพาณิชย์อย่างมีมาตรฐานในระดับที่เชื่อถือได้ ตลอดจนทดแทนการนำเข้าจากต่างประเทศ โดยคณะรัฐมนตรีได้มีมติมอบหมายให้ สวทช. เป็นหน่วยตรวจสอบคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์และบริการที่ขอขึ้นบัญชีนวัตกรรมไทย และมอบหมายสำนักงบประมาณเป็นหน่วยตรวจสอบราคาของผลิตภัณฑ์และบริการที่ผ่านการตรวจสอบคุณสมบัติเรียบร้อยแล้ว และเพื่อให้เกิดความรับรู้และความเข้าใจในเรื่องดังกล่าวอย่างถูกต้องและชัดเจนมากขึ้น การเสวนาฯ ที่จัดขึ้นนี้ ได้เชิญวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ ความสามารถและเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง จากหลากหลายภาคส่วนมาให้ข้อมูล มุมมอง และความคิดเห็นเพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจเข้ารับฟัง เพื่อจะได้ผนึกกำลังกันในการร่วมปรับเปลี่ยนให้ประเทศของเราเป็นไทยแลนด์ 4.0 ต่อไป
โดย
  • นายพิชัย คุ้มหรั่ง ผู้อำนวยการสำนักมาตรฐานงบประมาณ 2 สำนักงบประมาณ
    • บทบาทหน้าที่ของสำนักงบประมาณที่เกี่ยวข้องกับมาตรการบัญชีนวัตกรรมไทย
  • นางนาตยา สีทับทิม นักวิชาการมาตรฐานชำนาญการพิเศษ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.)
    • บทบาทหน้าที่ของ สมอ. ที่เกี่ยวข้องกับมาตรการบัญชีนวัตกรรมไทย
  • ดร.ลดาวัลย์ กระแสร์ชล รองผู้อำนวยการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
    • บทบาทหน้าที่ของ สวทช. ที่เกี่ยวข้องกับมาตรการบัญชีนวัตกรรมไทย
  • นายประพันธ์ วิไลเลิศ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทย เด็นทอล อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด
    • มุมมองภาคเอกชน ที่มีผลงานได้รับการขึ้นทะเบียนบัญชีนวัตกรรมไทย
  • ดร.วสันต์ อริยพุทธรัตน์ ผู้ก่อตั้ง และ ซีอีโอ บริษัท คีนน์ จำกัด
    • มุมมองภาคเอกชน ที่มีผลงานได้รับการขึ้นทะเบียนบัญชีนวัตกรรมไทย
ดำเนินรายการ โดย นายอภิรักษ์ วิเศษศรีพงษ์ ผู้จัดการ งานส่งเสริมนวัตกรรมสู่เชิงพาณิชย์ ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี สวทช.

กำหนดการนำเสนอผลงานวิจัย

(ดูรายละเอียดเพิ่มเติม)

  เวที 1 เวที 2 เวที 3 (เทคโนโลยีไฮไลท์)
13.30 - 13.45 น. ผลิตภัณฑ์ผงปรุงรสลาบ-น้ำตกที่มีส่วนผสมกาบา (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์)   ครีมกันแดดไล่ยุง (NANOTEC) (สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ) ไมโครอิมัลชันสำหรับกระชับสัดส่วน (มหาวิทยาลัยขอนแก่น)
13.45 - 14.00 น. ขนมจีนกึ่งสำเร็จรูปคืนรูปเร็ว (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย) กรรมวิธีการอบยางพาราแผ่น (มหาวิทยาลัยบูรพา) เทคโนโลยีเคลือบสระด้วยน้ำยางธรรมชาติ (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์)
14.00 - 14.15 น. แคบหมูติดมันกึ่งสำเร็จรูปสำหรับไมโครเวฟ (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย) ผลิตภัณฑ์ครีมขัดผิวกาย (มหาวิทยาลัยขอนแก่น) การตรวจสอบชิ้นงานด้วยภาพ (สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น)
14.15 - 14.30 น. อุปกรณ์อำนวยความสะดวกในการตำ (มหาวิทยาลัยบูรพา) ไมโครอิมัลชันเพื่อบรรเทาปวดและอักเสบน้ำมันไพลและสารสกัดพริก (มหาวิทยาลัยขอนแก่น) บอร์ดไมโคคอนโทรลเลอร์สาหรับควบคุมเครื่องจักรอุตสาหกรรมอย่างง่ายต้นทุนต่ำ (สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น)
14.30 - 14.45 น. ยางขวางถนนชะลอความเร็วรถยนต์ (กรมวิทยาศาสตร์บริการ) สูตรอาหารเลี้ยงกุ้งทะเล ที่ประกอบด้วยแมงกานีสคีเลตและน้ำมัน (มหาวิทยาลัยบูรพา) อุปกรณ์วัดสภาวะน่าสบาย (Thermal Comfort) ในสำนักงานและโรงงานอุตสาหกรรม (สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น)
14.45 - 15.00 น. ใบมีดคมคู่ที่ใช้พรวนดินและกำจัดวัชพืชสำหรับติดตั้งกับเครื่องตัดหญ้าสะพายบ่า (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน) อุปกรณ์อำนวยความสะดวกในการเก็บผลไม้ (มหาวิทยาลัยบูรพา) เครื่องอัดก้อนฟางข้าวแบบก้านกระแทก (สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ)
15.00 - 15.15 น. เครื่องหั่นสมุนไพร (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน) n-Zack กระสอบชลปราการ (NANOTEC) (สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ) เครื่องกลั่นน้ำส้มควันไม้ (สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ)
15.15 - 15.30 น.
15.30 - 15.45 น.  
15.45 - 16.00 น.    
เวลา ห้องเพลนารี 3
09.00 – 10.30 น. ลงทะเบียนเข้าร่วมงาน
10.30 – 12.00 น. เสวนาพิเศษ เรื่อง “มิติใหม่ ติดอาวุธอุตสาหกรรมไทยด้วยงานวิจัยและเทคโนโลยี” มิติใหม่ของผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมที่พร้อมจะก้าวทันความเปลี่ยนแปลงของตลาดและโอกาสทางธุรกิจใหม่ ๆ บนเทคโนโลยี นับเป็นความท้าทายสำคัญสำหรับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมที่จะประยุกต์ใช้ผลงานวิจัยและเทคโนโลยีสู่การใช้ประโยชน์ได้จริง ให้สามารถสร้างธุรกิจนวัตกรรมที่ประสบความสำเร็จและเติบโตอย่างยั่งยืน ในการเสวนานี้นำเสนอ มุมมอง จากผู้เชี่ยวชาญกลยุทธ์ธุรกิจ และวิสัยทัศน์ ประสบการณ์ การดำเนินธุรกิจจากผู้นำองค์กรที่พัฒนาโมเดลธุรกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม จนเป็น DNA องค์กร และดำเนินธุรกิจจนประสบความสำเร็จ และสามารถร่วมกันขับเคลื่อนประเทศตามแนวคิด ประเทศไทย 4.0 โดยใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เป็นฐานในการพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมายที่เป็นทั้ง S-Curve เดิม และ New S-Curve โดย
  • นายพิชิต วิวัฒน์รุจิราพงศ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เน็ตเบย์ จำกัด (มหาชน)
  • ภก.ประเสริฐ หวานยิ่ง ประธานบริษัทและผู้ก่อตั้ง บริษัท กรีน อินโนเวทีฟ ไบโอเทคโนโลยี จำกัด
  • นายสมเกียรติ ชินธรรมมิตร์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เว็ลธ์ แมเนจเม้นท์ ซิสเท็ม จำกัด
  • นายธันยวัชร์ ไชยตระกูลชัย ที่ปรึกษาอิสระด้านการตลาด
ดำเนินรายการ โดย นางศันสนีย์ ฮวบสมบูรณ์ ผู้อำนวยการ ศูนย์บ่มเพาะธุรกิจเทคโนโลยี สวทช.
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวันตามอัธยาศัย และเยี่ยมชมนิทรรศการ
13.00 – 14.00 น. บรรยาย เรื่อง “การสร้างแบรนด์ให้แข็งแรงในยุคดิจิทัล” (How to Build Strong Branding in Digital Era)
โดย นางบังอร สุวรรณมงคล ผู้เชี่ยวชาญด้านการสร้างแบรนด์การวางกลยุทธ์การตลาดและการทำตลาดออนไลน์ Managing Director & Founder Hummingbirds Research and Marketing Consultant
14.00 – 15.30 น. เสวนาพิเศษ เรื่อง “อัพเกรดธุรกิจ ด้วยกลไกสนับสนุน SMEs” โดย
  • นายจักราวุธ เพชร์แก้ว หัวหน้ากลุ่มบริหารการเสียภาษีธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก กรมสรรพากร
  • นายเดชา งามธนไพศาล ผู้อำนวยการฝ่ายอาวุโส Custodian & Escrow Agent ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
  • นายมงคล ลีลาธรรม กรรมการผู้จัดการ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
  • นายวิเชษฐ วรกุล รองผู้จัดการทั่วไปสายงานธุรกิจ บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.)
  • นายทีปกร ศิริวรรณ ผู้ก่อตั้ง บริษัท คอมพิวเตอร์ ซีสเต็ม อินทิเกรชัน จำกัด
  • นางสุวิภา วรรณสาธพ ผู้ช่วยผู้อำนวยการ และ รองผู้อำนวยการ ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
ดำเนินรายการ โดย อาจารย์กิตติชัย ราชมหา อาจารย์ประจำภาควิชาผู้ประกอบการและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยมหิดล

กำหนดการนำเสนอผลงานวิจัย

(ดูรายละเอียดเพิ่มเติม)

  เวที 1 เวที 2 (Startup Zone / Hilight) เวที 3 (เทคโนโลยีไฮไลท์)
13.30 - 13.45 น. สารเคลือบผิวมะม่วงที่มีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรคเพื่อยืดอายุผลผลิตหลังเก็บเกี่ยว (กรมวิทยาศาสตร์บริการ) Rich paradice เกมบนมือถือที่จะออกวางตลาดในต่างประเทศในเร็ววันนี้ เปิดตัวที่แรกที่งานนี้ อิฐทนไฟจีโอโพลิเมอร์จากกากอุตสาหกรรมและกรรมวิธีการผลิต (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา)
13.45 - 14.00 น. การพัฒนาผลิตภัณฑ์แยมจากข้าวไรซ์เบอรี่ เพื่อเป็นแนวทางในการต่อยอดเชิงพาณิชย์ และถ่ายทอดสู่ชุมชน (มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา) เครื่องนวดไฟฟ้าด้วยสมุนไพร (มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย)
14.00 - 14.15 น. การลดความสูญเปล่าการดำเนินงานผ่านระบบติดตามความเคลื่อนไหวด้วยรหัสคิวอาร์ (มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์) กราวิเทค สุดยอด Maker ของเมืองไทย ที่จะมาแนะนำบริการและกิจกรรมสนุกๆ อาทิ ทำ Drone เป็นต้น เครื่องทอผ้ากึ่งอัตโนมัติ ควบคุมด้วย MCS (มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย)
14.15 - 14.30 น. นวัตกรรมแหนมแห้งพร้อมบริโภค (มหาวิทยาลัยอุบล) COMMERZY มาสร้างระบบ Stock ของร้านค้าคุณง่ายๆ ด้วยตัวคุณเอง ให้คุณขายของได้อย่างไร้กังวล เครื่องทอผ้ากึ่งอัตโนมัติ ควบคุมด้วย PLC (มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย)
14.30 - 14.45 น. กรรมวิธีการผลิตผงปูนซีเมนต์ยาแนวจากซิลิกาจากแกลบข้าวสำหรับงานช่างสีภายใน (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา) L & S เลนส์ที่จะทำให้มือถือคุณถ่ายภาพได้แบบกล้องจุลทรรศ ด้วยความละเอียดที่เป็นเลิศ กล้อง CCTV ตรวจสอบการสวมหมวกกันน็อคแบบระบุตัวตน (มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย)
14.45 - 15.00 น. แอพลิเคชั่นสำหรับขอความช่วยเหลือ (มหาวิทยาลัยนเรศวร) Zulu ระบบบริหารจัดการลูกค้า ช่วยคุณออกใบสั่งซื้อ ใบเสร็จ รู้ยอดขายได้ทุกที่ทุกเวลา การผลิตเอนไซม์โพรทีเอสจาก Bacillus subtilis TISTR25 (สายพันธุ์ดั้งเดิม) และสายพันธุ์กลาย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
15.00 - 15.15 น. ชุดผลิตไฟฟ้าจากลมร้อนคอมเพรสเซอร์แอร์ฯ (มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต) บ.วันดี โซลูชั่น จำกัด โซลูชั่นสำหรับงานบุคคล
15.15 - 15.30 น. PRO-TOYS ระบบควบคุมกล้อง ที่จะช่วยให้ถ่ายภาพได้อย่างมืออาชีพ และตื่นเต้นราวกับดูหนัง Matrix
15.30 - 15.45 น. Research for life เปิดตัวระบบ Chat คล้ายๆ Line ที่จะทำให้การติดต่อสื่อสารภายในองค์กรง่ายขึ้น มีสาระ เก็บความลับภายในได้เป็นอย่างดี

*** กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม ***