ชื่อเรื่องจากหน้าปกวารสารเนเจอร์ฉบับล่าสุด วันที่ 2 มกราคม 2014
ภาพถ่ายปะการังสีทองที่ใต้ท้องทะเลลึกฮาวาย ตามชื่อวิทยาศาสตร์ Kulamanamana haumeaae จากเรือดำน้ำลึก Pisces V ของสถาบัน National Oceanic and Atmosphereic Administration (NOAA) ปะการังชนิดนี้มีความพิเศษที่บางครั้งอาจมีอายุยืนยาวมาก ถึง 1 พันปี โดยในช่วงเวลาหนึ่งพันปีที่ผ่านมานี้ปะการังนี้ได้ช่วยให้เกิดปฏิกิริยาทางธรณีเคมี ช่วยแปลงผันไฟโตแพลงตอนให้เกิดเป็นโครงสร้างของปะการังต่างๆ ทำให้เกิดการสะสมของอาหารอย่างพอเพียง ในท้องทะเลแถบแปซิฟิกเหนือและแถบวงแหวนเขตร้อน
นักวิทยาศาสตร์ Owen Sherwood และทีมงาน ได้ดำเนินการวิจัย ด้วยการใช้ nitrogen isotopic (?15N) records จากปะการังสีทองชนิด K. haumeaae นี้ เพื่อให้เกิดการตรึงไนโตรเจนเพิ่มขึ้น ซึ่งอาจเชื่อมโยงไปถึงสภาพภูมิอากาศของซีกโลกด้าเหนือ ที่การสิ้นสุดของยุค the Little Ice Age
อ้างอิง : Sea Change. (2014) Front Cover. Nature., 505 (7481)
Available at : http://www.nature.com/nature/current_issue.html– ( 9 Views)