ในช่วงปลายเดือนธันวาคมปี 2556 วารสาร NewScientist ฉบับที่ 2948 ได้ตีพิมพ์บทความเรื่อง “10 เหตุการณ์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในปี 2557″ (2014 preview: 10 ideas that will matter next year) โดยสรุปได้ดังนี้ เหตุการณ์ทางด้านอวกาศ 1. เป็นครั้งแรกที่ยานอวกาศจะโคจรรอบดาวหางและปล่อยตัวขับเคลื่อนบนพื้น (lander) เพื่อสำรวจดาวหาง ที่มา: ESA ในเดือนพฤษภาคมปี 2557 ยานอวกาศ Rosetta ของ The European Space Agency จะโคจรรอบดาวหาง Churyumov-Gerasimenko และในเดือนพฤศจิกายนหุ่นยนต์ตัวขับเคลื่อนบนพื้น (robotic lander) ที่ชื่อ Philae จะถูกปล่อยออกจากยานอวกาศ Rosetta เพื่อสำรวจบนพื้นดาวหาง โดย Philae จะขุดพื้นดาวหางเพื่อเก็บหินตัวอย่างและส่งหินไปวิเคราะห์บนยานอวกาศและจะส่งผลตรวจไปยังโลก เนื่องจากเหมือนดาวเคราะห์น้อย ดาวหางเป็นที่เก็บรักษาวัสดุที่ได้จากการเกิดของระบบสุริยะเมื่อ 4.6 พันล้านปีมาแล้ว ดังนั้นหินตัวอย่างจากดาวหางจึงสามารถบ่งบอกถึงจุดกำเนิดของมหาสมุทรของโลก งานสุดท้ายของ
10 เหตุการณ์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในปี 2557
Tags: 10 ideas that will matter next year, 10 เหตุการณ์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในปี 2557, 2014 preview, Churyumov-Gerasimenko, Climate Change, exoskeleton, eye-tracking, Falcon Heavy, Google Glass, Homo erectus, Hyundai, internet fragmentation, IPCC, IVF, mind-controlled exoskeleton, NewScientist, Orion, Philae, Rosetta, spying campaigns, the Intergovernmental Panel on Climate Change, three-parent baby, Tucson, Vostok, Walk Again Project, การกลายพันธุ์, การปฏิสนธินอกร่างกาย, การรณรงค์การตรวจจับ, การหาลำดับเบส, การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ, การแข่งขันฟุตบอลโลก, จีโนม, ดาวหาง, ดาวอังคาร, ดีเอ็นเอ, ปี 2557, ยานอวกาศ, รถยนต์ไฮโดรเจน, ระบบเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ, วิทยาศาสตร์, อัมพาต, อินเทอร์เน็ต, เทคโนโลยี, เหตุการณ์, เหตุการณ์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, โครงการกลับมาเดินได้อีกครั้ง, โครงสร้างแข็ง, ไมโทคอนเดรีย