magnify
magnify

Open Knowledge for all 

Home Articles posted by waree (Page 2)
formats

ตะลุยค่ายวิทยาศาสตร์การบิน เที่ยวบินที่ 5 การสร้างเครื่องบินเล็ก (บังคับวิทยุ)

ก่อนลงมือสร้างเครื่องบินเล็กจำเป็นต้องเตรียมวัสดุให้พร้อม วัสดุส่วนมากสามารถหาซื้อได้จากร้านเครื่องเขียนทั่วไป มีบางรายการที่จำเป็นต้องซื้อจากตลาดหรือแหล่งอื่นๆ เช่น ร้านขายเครื่องมือช่างเป็นต้น การสร้างเครื่องบินเล็กเป็นเรื่องสนุกไม่น้อยสำหรับมือใหม่ เพราะนอกจากจะได้ลงมือสร้างเครื่องบินด้วยตนเองแล้ว การเลือกซื้อวัสดุอุปกรณ์ก็เป็นเรื่องที่จำเป็นและเพลิดเพลินเช่นกัน และหลังจากเตรียมอุปกรณ์แล้ว ยังได้สนุกกับการลุ้นว่าเครื่องบินจะพร้อมบินหรือไม่ อ่านเอกสารฉบับเต็มได้ที่  http://www.nstda.or.th/e-book/604-flight-sci-camp แหล่งที่มา : ฤทัย จงสฤษดิ์ และอติพร สุวรรณ. (บรรณาธิการ). (2548). ตะลุยค่ายวิทยาศาสตร์การบิน. กรุงเทพฯ : พิมพ์ดี.– ( 37 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ตะลุยค่ายวิทยาศาสตร์การบิน เที่ยวบินที่ 4 การออกแบบเครื่องบินเล็กเบื้องต้น

สำหรับการออกแบบเครื่องบินเล็กเบื้องต้นมีสิ่งที่ต้องคำนึงถึงดังต่อไปนี้ 1. แรงขับ 2. น้ำหนักรวมพร้อมบิน 3. คำนวณขนาดของปีก 4. คำนวณหาความยาวลำตัวที่เหมาะสม 5. หาขนาดของแพนระดับ 6. หาขนาดของแพนดิ่ง สิ่งต่างๆ เหล่านี้จะส่งผลให้เครื่องบิน ลอยตัวอยู่กลางอากาศได้ตามการออกแบบ อ่านเอกสารฉบับเต็มได้ที่  http://www.nstda.or.th/e-book/604-flight-sci-camp แหล่งที่มา : ฤทัย จงสฤษดิ์ และอติพร สุวรรณ. (บรรณาธิการ). (2548). ตะลุยค่ายวิทยาศาสตร์การบิน. กรุงเทพฯ : พิมพ์ดี.– ( 29 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ตะลุยค่ายวิทยาศาสตร์การบิน เที่ยวบินที่ 3 หลักพื้นฐานการบิน

จากความฝันสู่ความจริง จากจินตนาการสู่การค้นคว้าและพัฒนา การบินไปไหนมาไหนได้เหมือน นก เป็นความฝันของมนุษย์มานานแสนนานตั้งแต่สมัยโบราณ เหล่านักประดิษฐ์ที่มีความฝันเดียวกันได้ค้นคว้าและพัฒนาเรื่อยมา จนมนุษย์สามารถบินขึ้นสู่ท้องฟ้าได้สำเร็จ และเป็นรากฐานของการพัฒนาด้านการบินในปัจจุบัน อ่านเอกสารฉบับเต็มได้ที่  http://www.nstda.or.th/e-book/604-flight-sci-camp แหล่งที่มา : ฤทัย จงสฤษดิ์ และอติพร สุวรรณ. (บรรณาธิการ). (2548). ตะลุยค่ายวิทยาศาสตร์การบิน. กรุงเทพฯ : พิมพ์ดี.– ( 19 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ตะลุยค่ายวิทยาศาสตร์การบิน เที่ยวบินที่ 2 ภาษาการบิน

มารู้จักภาษาการบินกันก่อน เพื่อจะช่วยให้เราเข้าใจเกี่ยวกับการบินและเครื่องบินดียิ่งขึ้น เช่น อากาศพลศาสตร์ ปีกเล็กแก้เอียง กระแสอากาศ รูปร่างปีก มุมปะทะ หลักการของเบอร์นูลลี่ ห้องนักบิน คันบังคับที่ตั้งตรง แพนปีกปรับระดับ แพนปีกเพิ่มแรงยก  การเคลื่อนที่สัมพัทธ์ แพนหางเสือ ปีกรักษาเสถียรภาพ เป็นต้น อ่านเอกสารฉบับเต็มได้ที่  http://www.nstda.or.th/e-book/604-flight-sci-camp แหล่งที่มา : ฤทัย จงสฤษดิ์ และอติพร สุวรรณ. (บรรณาธิการ). (2548). ตะลุยค่ายวิทยาศาสตร์การบิน. กรุงเทพฯ : พิมพ์ดี.– ( 22 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ตะลุยค่ายวิทยาศาสตร์การบิน เที่ยวบินที่ 1 ประวัติการบินของไทย

การบินของไทยมีจุดเริ่มต้นตั้งแต่ ปีพ.ศ.2454 โดยพลอากาศโท พระยาเฉลิมอากาศ เป็นนักบินคนแรกของไทยที่ได้ทดลองบินเครื่องบินแบบออร์วิลล์ ไรต์จากนั้นได้คัดเลือกนายทหารไทย 3 นาย ได้แก่ พลอากาศโท พระยาเฉลิมอากาศ(สุณี สุวรรณประทีป) นาวาอากาศเอกพระยาเวหาสยานศิลปะสิทธิ์(หลง สิน-สุข) และนาวาอากาศเอก พระยาทะยานพิฆาต(ทิพย์ เกตุทัต) ไปศึกษา ณ ประเทศฝรั่งเศส และกลับมาเข้าประจำการเป็นหน่วยบินแรกของกองทัพอากาศ อ่านเอกสารฉบับเต็มได้ที่  http://www.nstda.or.th/e-book/604-flight-sci-camp แหล่งที่มา : ฤทัย จงสฤษดิ์ และอติพร สุวรรณ. (บรรณาธิการ). (2548). ตะลุยค่ายวิทยาศาสตร์การบิน. กรุงเทพฯ : พิมพ์ดี.– ( 24 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

อวัยวะเทียมที่ผลิตด้วยเทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิติ กำลังจะเป็นที่แพร่หลาย

การผลิตอวัยวะเทียมเพื่อทดแทนอวัยวะที่เสียหายเป็นสิ่งที่มีการดำเนินการมานานแล้ว การผลิตอวัยวะเทียมด้วยวิธีดั้งเดิมยังไม่ตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยจำนวนมากได้ ด้วยเหตุผลด้านราคาที่สูงและความซับซ้อนในการผลิต การพิมพ์ด้วยเทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิติเป็นทางออกหนึ่งที่กำลังได้รับความนิยมมากขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากเทคโนโลยีนี้ช่วยลดต้นทุนการผลิตลดลง ชิ้นอวัยวะเทียมที่มีการออกแบบให้เหมาะกับแต่ละบุคคล และประสิทธิภาพดีขึ้นมาก อ่านเพิ่มเติมได้ที่ http://www.nstda.or.th/nstda-knowledge/19334-science-and-technology-news– ( 62 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

โครงสร้างของน้ำตามนุษย์ผ่านกล้องจุลทรรศน์

มีช่างภาพได้ถ่ายภาพของน้ำตามนุษย์ โดยส่วนใหญ่ได้มาจากน้ำตาที่เกิดจากความเปลี่ยนแปลงและความสูญเสีย ในทางวิทยาศาสตร์ น้ำตามี 3 ประเภทคือ 1. น้ำตาจากสภาพจิตใจทั้งบวกและลบ  2. น้ำตาที่เกิดจากอุณหภูมิพื้นฐาน มีปริมาณเล็กน้อยผลิตออกมาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้แก้วตามีความชุ่มชื้น และ 3. น้ำตาแห่งการผ่อนคลาย เป็นน้ำตามที่เกิดจากสิ่งระคายเคือง โดยในภาพน้ำตาที่แสดงนั้นจะเห็นว่าโครงสร้างของน้ำตาที่เกิดจากสาเหตุแต่ละแบบนั้นแตกต่างกัน อ่านเพิ่มเติมได้ที่ http://www.nstda.or.th/nstda-knowledge/19334-science-and-technology-news– ( 62 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

การค้นพบนาโนมอเตอร์ที่เล็กที่สุดและเร็วที่สุด

เดิมมีการสร้างนาโนมอเตอร์มาก่อนแล้วซึ่งสามารถหมุนได้ 14,500 รอบต่อนาที ในขณะที่มอเตอร์รุ่นใหม่ที่ค้นพบนั้นสามารถหมุนได้เร็วถึง 18,000 รอบต่อนาที ทำงานต่อเนื่องได้ 15 ชั่วโมง มีขนาดเล็กกว่าเซลล์ของมนุษย์ ทั้งหมดนี้มีจุดประสงค์ในการสร้างเพื่อนำส่งยาเข้าไปข้างในร่างการมนุษย์ อ่านเพิ่มเติมได้ที่ http://www.nstda.or.th/nstda-knowledge/19334-science-and-technology-news– ( 18 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

สารประกอบในเห็ดขี้ควายช่วยลดภาวะซึมเศร้า

Psilocybin เป็นสารประกอบที่มีคุณสมบัติหลอนประสาท พบได้ในเห็ดขี้ควาย ซึ่งเกิดขึ้นตามธรรมชาติในประเทศสหรัฐอเมริกาถือว่า Psilocybin เป็นยาเสพติดประเภทหนึ่ง แต่หากใช้ ในทางการแพทย์ นั้นสามารถใช้ได้อย่างถูกกฏหมาย นักวิจัยจากโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยจิตเวช เมืองซูริค ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พบว่า สาร Psilocybin มีประสิทธิภาพในการช่วยลดอาการวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้า และเมื่อใช้ Psilocybin ในปริมาณเล็กน้อยจะทำให้อารมณ์ดีขึ้น อ่านเพิ่มเติมได้ที่ http://www.nstda.or.th/nstda-knowledge/19334-science-and-technology-news– ( 28 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

10 ประเทศผู้นำทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

จากการจัดอันดับประเทศสหรัฐ จัดอยู่ในอันดับที่ 7 โดยมี ฟินแลนด์ สิงคโปร์ และสวีเดน  ยังคงอันดับ 1 2 และ 3 ตามลำดับ ตามด้วยเนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ และ สวิตเซอร์แลนด์ การจัดอันดับนี้ทีมผู้เชี่ยวชาญทางด้านธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ใช้ตัวบงชี้ ในการบอกความแตกต่าง เช่น การประเมินผลทางปริมาณ โดยคำนวณจากเปอร์เซนต์หรือจำนวนวันเฉลี่ยของผู้ใช้อินเตอร์เน็ต และรวมไปถึงคุณภาพของการศึกษาในสาขาวิทยาศาสตร์ของแต่ละประเทศอีกด้วย อ่านเพิ่มเติมได้ที่ http://www.nstda.or.th/nstda-knowledge/19334-science-and-technology-news– ( 151 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments