magnify
magnify

Open Knowledge for all 

Home Articles posted by tipparat (Page 5)
formats

โครงสร้างขณะที่แอนติบอดีจับกับไวรัส chikungunya

จากเผยแพร่ในวารสาร eLife คณะนักวิจัยจาก Purdue University ค้นพบโครงสร้างในขณะแอนติบอดีจับกับไวรัส chikungunya ซึ่งทำให้เข้าใจว่าการติดเชื้อของเซลล์ไม่ได้ผลได้อย่างไร อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 34 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

กรดไขมันสามารถใช้เป็นยาต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่

จากเผยแพร่ในวารสาร Cell คณะนักวิจัยจาก Akita University ค้นพบว่ากรดไขมัน (fatty acid) สามารถทำให้หนู (mice) ที่ติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ไม่ตาย แม้ในระยะรุนแรงของโรค อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 31 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

วัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่มีประสิทธิภาพ

จากเผยแพร่ในวารสาร Nature คณะนักวิจัยจาก National Institute of Allergy and Infectious Disease (NIAID) พัฒนาวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่มีประสิทธิภาพ อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 32 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

กลไกการงับเหยื่อของกาบหอยแครง

กาบหอยแครง (Venus flytraps) เป็นพันธุ์ไม้ของทวีปอเมริกา พบตามธรรมชาติ บริเวณที่เป็นแอ่งมีน้ำท่วมขัง หลายคนที่เคยเห็นต้นกาบหอยแครงมีกับดักที่ดัดแปลงจากตอนปลายของก้านใบ คงสงสัยว่าต้นกาบหอยแครงมีกลไกการงับเหยื่ออย่างไร อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 33 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

พืชบางชนิดต้องมีอวัยวะดักจับแมลง

คนส่วนใหญ่รู้ว่าพืชเจริญเติบโตได้ต้องการบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์ของธาตุอาหารที่จำเป็นต่อพืช หากอยู่ในพื้นที่แห้งแล้งบางแห่งที่ไม่มีผู้ย่อยอินทรีย์สาร คอยทำหน้าที่หมุนเวียนสารประกอบไนโตรเจน อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 42 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ส้มกุ้งมีใบหลากสี

ส้มกุ้งหรือสันดานหิน เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ Begoniaceae หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ บีโกเนีย พบได้ในทุกภาคของประเทศ ในเกือบทุกสังคมพืช อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 65 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

กล้วยไม้ดินชอบพื้นที่ที่มีช่วงความแห้งแล้งยาวนาน

เอื้องสีตองเป็นกล้วยไม้ดินที่สามารถสร้างอาหารเอง พบขึ้นตามทุ่งหญ้า เจริญได้ดีในสภาพพื้นที่ที่มีช่วงความแห้งแล้งยาวนาน ปริมาณน้ำฝนต่ำและเกิดไฟป่าทุกปี อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 40 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ความร้ายกาจของสาหร่ายกระบอง

ก่อนหน้านี้ได้กล่าวว่าสาหร่ายทะเลมีประโยชน์อย่างมาก เช่น สาหร่ายทุ่น และสาหร่ายใบมะกรูด แต่มีสาหร่ายทะเลอยู่ชนิดหนึ่งเป็นผู้รุกรานที่สร้างปัญหาในหลายพื้นที่ทั่วโลก สาหร่ายชนิดนี้ได้แก่ สาหร่ายกระบอง อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 40 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ประโยชน์ที่มากมายของสาหร่ายทะเล

หลายคนที่ชอบดำน้ำดูความสวยงามใต้ท้องทะเล คงเคยเห็นสาหร่ายทะเลมีหน้าตาหลากหลายแบบแตกต่างกัน แต่น่าจะยังไม่รู้ว่าจริงๆ สาหร่ายทะเลเหล่านั้นมีประโยชน์ต่อใต้ท้องทะเล อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 40 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

กิ้งกือมีประโยชน์

ในวัยเด็ก หลายคนอาจชอบไปเดินตามบริเวณที่มีต้นไม้และหญ้าอยู่หนาแน่น หรือบางคนอาจเคยไปเที่ยวน้ำตกหรือป่า น่าจะเคยเห็นกิ้งกืออยู่บ้างสัก 1 หรือ 2 ตัว หรือบางครั้งอาจมีกิ้งกืออยู่เป็นจำนวนมากในบริเวณที่ไปเดินเล่นหรือไปเที่ยว อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 25 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments