เมื่อพูดถึงนักเต้นรำ หลายคนจะเข้าใจว่าเป็นคนที่มีความสามารถมากในการเต้นรำ แต่ถ้านักเต้นรำที่ว่าหมายถึงพืช หลายคนคงอยากรู้จักพืชชนิดนี้ อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 26 Views)
โลมาสีชมพู (Suasa chinensis) มีชื่อเรียกอีกชื่อในหมู่นักวิชาการว่า โลมาขาวเทา และมีชื่อสามัญในภาษาอังกฤษหลายชื่อ เช่น Indo-Pacific hump-backed dolphins, Chinese white dolphins, Giant pandas of the sea มีชื่อท้องถิ่นเรียกว่า โลมาหลังโหนก อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 37 Views)
หลายคนคงรู้จักยุงลายเป็นอย่างดีว่าเป็นพาหะนำเชื้อโรคไข้เลือดออก แต่คงยังไม่รู้ว่าเมื่อเวลาผ่านไปยุงลายมีความร้ายกาจมากขึ้น อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 34 Views)
ในช่วงปี 2550-2551 ปรากฏว่ามีแมลงต่างถิ่นรุกรานระบาดเข้ามาถึงประเทศไทยอีกชนิดหนึ่งคือ เพลี้ยแป้งมะละกอ (Papaya mealybug) มีถิ่นกำเนิดในอเมริกากลาง อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 27 Views)
ผ่านมาสองตอนแล้วหลายคนคงจะรู้จักเห็ดทะเลดีขึ้น ในตอนที่ 3 จะตอบคำถามคือ เห็ดทะเลสืบพันธุ์อย่างไร และ เห็ดทะเลมีความสำคัญในทางเศรษฐกิจอย่างไร อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 39 Views)
เมื่ออ่านเรื่องราวของเห็ดทะเลในตอนที่ 1 หลายคนคงอยากรู้ต่อไปว่าเห็ดทะเลมีแหล่งที่อยู่อาศัยเป็นอย่างไรและจัดจำแนกชนิดของเห็ดทะเลได้อย่างไร อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 45 Views)
เห็ดทะเลเป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง อยู่ใน Phylum Cnidaria, Subclass Hexacorallia, Order Coralimorpharia มีชื่อสามัญในภาษาอังกฤษหลายชื่อ เช่น Mushroom Anemone, Mushroom Coral, Coral-like Anemone และ Corallimorphs มีรูปร่างคล้ายดอกไม้ทะเล อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 76 Views)
หอยกะพงเทศ (Mytilopsis adamsi Morrison, 1946) เป็นสัตว์น้ำที่มีแหล่งกำเนิดในตอนกลางของทวีปอเมริกาด้านฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิค และได้รุกรานท่าเรือชายฝั่งในหลายประเทศ เช่น อินเดีย ออสเตรเลีย สิงคโปร์ อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 47 Views)
ออสทราคอดเป็นสัตว์โลกล้านปี พบครั้งแรกในทะเลเมื่อประมาณ 450 ล้านปีที่ผ่านมา ต่อมามีวิวัฒนาการเข้าสู่น้ำกร่อย น้ำจืด รวมถึงมีวิวัฒนาการขึ้นบกไปสู่ที่ที่มีความชุ่มชื้นเช่น บริเวณที่มีใบไม้ทับถมเน่าเปื่อย จัดได้ว่าเป็นสิ่งมีชีวิตที่พบในสิ่งแวดล้อมที่หลากหลายมาก อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 42 Views)
เมื่อดูภาพภายใต้กล้องจุลทรรศน์ของเชื้อราทั้งสองชนิดนี้ จะมองเห็นความแตกต่างได้ยาก เนื่องจากเมื่อดูผิวเผินจะเห็นเป็นภาพที่สวยงามเหมือนการแตกออกของดอกไม้ไฟ แต่ถ้าสังเกตให้ดีจะสามารถแยกเชื้อราทั้งสองชนิดนี้ได้ อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 37 Views)
STKS Blog โดย STKS Blog โดย ฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ อนุญาตให้ใช้ได้ตาม สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า 3.0 ประเทศ .อยู่บนพื้นฐานของงานที่ stks.or.th.