magnify
magnify

Open Knowledge for all 

Home Archive for category "S&T Stories" (Page 13)
formats

การดื่มนมในระหว่างที่ตั้งครรภ์อาจจะทำให้ลูกน้อยตัวสูงขึ้น

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอข่าววิทย์เรื่อง การดื่มนมในระหว่างที่ตั้งครรภ์อาจจะทำให้ลูกน้อยตัวสูงขึ้น จากการศึกษาครั้งใหม่ นักวิจัยพบว่าปริมาณของนมที่คุณแม่ดื่มในระหว่างตั้งครรภ์อาจจะส่งผลต่อความสูงของลูกเมื่อเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ – ( 36 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ใส่เบรกให้กับการกินที่มากเกินไป

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอข่าววิทย์เรื่อง ใส่เบรกให้กับการกินที่มากเกินไป เมื่อคนเรากินอาหารที่มีไขมันสูง ลำไส้จะส่งสัญญาณไปสู่สมอง สมองจะตอบสนองโดยการปลดปล่อยสารโดปามีน สารเคมีแห่งความสุข แต่การกินอาหารที่มีไขมันสูงมากจนเกินไปจะทำให้การเชื่อมต่อสัญญาณระหว่างลำไส้กับสมองเกิดการย้อนกลับ นักวิทยาศาสตร์ได้ค้นพบเมื่อเร็วๆ นี้ว่า มันเกิดอะไรขึ้น และจะแก้ปัญหานี้อย่างไรในหนู – ( 27 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ของเหลวเปลี่ยนรูปกับสนามแม่เหล็ก

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอข่าววิทย์เรื่อง ของเหลวเปลี่ยนรูปกับสนามแม่เหล็ก โดยปกติ โปรตีนและโมเลกุลชนิดอื่นๆ ในธรรมชาติ สามารถบิดและพับไปสู่รูปแบบใหม่ๆ ได้ ในทำนองเดียวกันนักวิทยาศาสตร์อยากที่จะสร้างโครงสร้างสังเคราะห์ที่สามารถปรับเปลี่ยนรูปร่างของมันเองเฉกเช่นเดียวกับสารโมเลกุลในพืช และสัตว์ ดังนั้นทีมนักวิจัยในยุโรปจึงทำการทดสอบวัสดุชนิดใหม่ที่สามารถเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้ รายละเอียดเพิ่มเติมเข้าถึงได้ที่ http://vcharkarn.com/vnews/447472– ( 33 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

การตรวจหาโรคอัลไซเมอร์จากเลือดใกล้จะเป็นจริง

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอบทความเรื่อง การตรวจหาโรคอัลไซเมอร์จากเลือดใกล้จะเป็นจริง ปัจจุบันโรคอัลไซเมอร์กลายเป็นโรคยอดฮิตที่มียอดผู้ป่วยเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วในประเทศออสเตรเลีย เป็นรูปแบบของภาวะสมองเสื่อมที่พบมากที่สุด นักวิจัยได้คาดการณ์ไว้ว่าในปี 2050 จะมีผู้ป่วยที่เป็นโรคสมองเสื่อมเพิ่มขึ้นจาก 3 แสนคน เป็น 1.13 ล้านคน ในสหรัฐอเมริกา ปี 2011 มีผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ทั้งสิ้น 5.4 ล้านคน แต่มีเพียง 1 ใน 8 คน เท่านั้นที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคอัลไซเมอร์ – ( 30 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

วันเต่าโลก

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอบทความเรื่อง วันเต่าโลก (World Turtle Day) บนโลกนี้จะมีสัตว์อยู่กี่ชนิดที่มีวันเป็นของตัวเอง  และหนึ่งในนั้นก็คือ  “เต่า”  สัตว์ที่ได้ขึ้นชื่อว่ามีอายุยืนมากที่สุดชนิดหนึ่งของโลก ในวันที่ 23 พฤษภาคม ปี ค.ศ 2000 ได้เริ่มมีการกำหนดให้เป็นวันเต่าโลก – ( 36 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ดาราศาสตร์ กับความจำเป็นที่เด็กต้องเรียน

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอบทความเรื่อง “ดาราศาสตร์” กับความจำเป็นที่เด็กต้องเรียน เหตุใดเราต้องเรียนวิชาดาราศาสตร์ เรียนไปแล้วได้อะไร นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้หรือไม่ เหล่านี้มักเป็นคำถามยอดฮิตสำหรับเด็กๆ ที่ต้องเรียนวิชาดาราศาสตร์ แต่จะมีครูสักกี่คนที่สามารถตอบคำถามเหล่านี้ได้อย่างเป็นรูปธรรม และสามารถสอนให้เด็กเรียนรู้ดาราศาสตร์อย่างถูกต้อง เกิดความเข้าใจ และเรียนรู้ที่จะนำไปใช้ได้ – ( 87 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

กำเนิดวาสลีน

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอบทความเรื่อง กำเนิดวาสลีน (Petrolium jelly) ใครหลายคนอาจจะเคยใช้  “วาสลีน”  ผลิตภัณฑ์ชนิดหนึ่งที่นิยมนำมาใช้บำรุงผิวพรรณเพื่อความชุ่มชื้น  ไม่ว่าจะนำมาใช้ทาริมฝาปาก เพื่อป้องกันปากแห้งแตก  หรือใช้ทาบริเวณผิวพรรณแตกลายอย่างข้อศอกหรือส้นเท้า  นอกจากประโยชน์โดยตรงเหล่านี้แล้ว  ความชุ่มชื้นของวาสลีนยังสามารถนำมาใช้เคลือบประเป๋าหรือเครื่องหนัง รวมทั้งใช้ป้องกันการเกิดสนิมและลดเสียงดังจากการเปิดปิดประตูหน้าต่างได้อีกด้วย – ( 35 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

รักษาโรคมะเร็งด้วยการฟื้นฟูระบบภูมิคุ้มกัน

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอบทความเรื่อง รักษาโรคมะเร็งด้วยการฟื้ันฟูระบบภูมิคุ้มกัน “การไม่มีโรค เป็นลาภอันประเสริฐ” เป็นประโยคยอดฮิต ที่ไม่ว่าใครๆ ก็คงจะเห็นด้วย แต่สำหรับงานวิจัยนี้ อาจต้องเปลี่ยนแปลงนิดหน่อยเป็น “การมีระบบภูมิคุ้มกันที่ดี เป็นลาภอันประเสริฐ” – ( 47 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

อุกกาบาตระทึกโลก

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอบทความเรื่อง อุกกาบาตระทึกโลก เมื่อกลางเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา อุกกาบาตขนาดใหญ่พุ่งผ่านจากอวกาศเข้ามาระเบิดและแตกตัวเหนือน่านฟ้าตอนกลางของประเทศรัสเซียห่างจากพื้นดินเพียงไม่กี่กิโลเมตร สร้างความเสียหายให้กับสิ่งปลูกสร้างอาคารบ้านเรือนในพื้นที่ 6 เมืองของเขตเชลยาบินสก์ บริเวณเทือกเขาอูราล ซึ่งเป็นเมืองอุตสาหกรรม ห่างจากกรุงมอสโกไปทางตะวันออก 1,500 กิโลเมตร – ( 53 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

การเขียนบทความวิทยาศาสตร์ที่ประสบความสำเร็จ

คุณจุมพล เหมะคีรินทร์ ได้ให้ข้อสังเกตในการเขียนบทความวิทยาศาสตร์ที่ประสบความสำเร็จ จากประสบการณ์ที่ทำหน้าที่บรรณาธิการ ไว้ดังนี้ ควรเป็นเรื่องที่อ่านง่าย เนื้อหาไม่ซ้บซ้อน เรื่องที่ยาก ควรมีตัวอย่าง เพื่อให้เรื่องนั้นไม่ยากจนเกินไป รู้จักใช้ภาษาเชิงวรรณศิลป์ แต่ถ้าไม่สามารถ ควรให้ภาษาสื่อสารแบบตรงๆ ง่ายๆ มีอารมณ์ขัน ก็เป็นสิ่งสำคัญ เพราะคนอ่านทั่วไปจะชอบและประทับใจเรื่องที่มีอารมณ์ขัน ส่วนการเขียนที่ไม่ประสบความสำเร็จ คือ อ่านยาก ทั้งๆ ที่เนื้อหาไม่ได้ซ้บซ้อน ลำดับความไม่ดี ไม่ลื่นไหลหรือสอดรับกันเท่าที่ควร ใช้ศัพท์เทคนิคมากเกินไป บางคำไม่จำเป็นต้องรู้ก็ได้ ทำให้เข้าใจยาก และไม่น่าอ่าน  มีข้อมูลมากเกินไป และยังติดกลิ่นนมเนย กรณีที่เป็นเรื่องแปล ติดตามอ่านรายละเอียดได้ที่เว็บนี้ค่ะ http://www.nstda.or.th/sci2pub/thaismc/sci-communication/success-article.pdf– ( 47 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments