magnify
magnify

Open Knowledge for all 

Home Archive for category "S&T Stories" (Page 18)
formats

แรงโน้มถ่วงบนโลกไม่เท่ากัน

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอข่าววิทย์เรื่อง แรงโน้มถ่วงบนโลกไม่เท่ากัน ทีมนักวิจัยจากออสเตรเลีย-เยอรมัน ได้สร้างแผนที่แรงโน้มถ่วงของโลกแบบความละเอียดสูง และได้แสดงให้เห็นว่า ความแปรผันของแรงโน้มถ่วงของโลกนั้นมีสูงกว่าที่เคยคาดการณ์ไว้ถึง 40 เปอร์เซ็นต์ งานวิจัยนี้นำโดย ดร. คริสเตียน เฮิร์ต แห่งมหาวิทยาลัยเคอร์ติน ในการศึกษานั้น นักวิจัยได้ใช้ข้อมูลจากกระสวยอวกาศของสหรัฐอเมริกา โดยมีผู้เชี่ยวชาญจากทางมหาวิทยาลัยเคอร์ติน ออสเตรเลีย และมหาวิทยาลัยมิวนิค มาช่วยกันปรับปรุงแผนที่แรงโน้มถ่วงของโลกให้มีความละเอียดสูงขึ้น รายละเอียดเพิ่มเติมเข้าถึงได้ที่ http://vcharkarn.com/vnews/447429– ( 61 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

อยากรู้จักอึ่งกรายจันทบูรณ์

หลายคนอาจสงสัยทำไมชื่ออึ่งกรายจันทบูรณ์ แต่คงพอเดาออกว่าเป็นเพราะพบครั้งแรกที่จังหวัดจันทบุรี อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 36 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ยืนยันโลกเคยมีภูเขาไฟยักษ์จริง

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอข่าววิทย์เรื่อง ยืนยันโลกเคยมีภูเขาไฟยักษ์จริง นักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮูสตัน ได้ค้นพบว่า โลกเคยมีภูเขาไฟใหญ่ยักษ์แบบเดี่ยว ขนาดเท่ากับเกาะอังกฤษ และใหญ่เทียบเท่ากับภูเขาไฟยักษ์บนดาวอังคาร อันเป็นภูเขาไฟที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะเลยทีเดียว ศาสตราจารย์ วิลเลียม ซาเกอร์ แห่งภาควิชาธรณีวิทยาและบรรยากาศ มหาวิทยาลัยฮูสตัส ได้เริ่มศึกษาภูเขาไฟตั้งแต่เมื่อ 20 ปีที่แล้ว และล่าสุด ได้ค้นพบว่าโลกเคยมีภูเขาไฟโบราณ ชื่อ Tamu Massif อยู่จริง – ( 46 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ปัญหาพฤติกรรมของเด็กกับโรคร้ายในวัยโต

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอข่าววิทย์เรื่อง ปัญหาพฤติกรรมของเด็กกับโรคร้ายในวัยโต เด็กที่มีปัญหาด้านพฤติกรรมอาจจะเสี่ยงต่อการเป็นโรคเรื้อรังในวัยผู้ใหญ่ ทั้งโรคหัวใจ โรคอ้วน เบาหวาน ตลอดจนโรคติดเชื้อต่างๆ ได้ง่าย – ( 61 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

รังผึ้งหอยโข่งของผึ้งมิ้ม

เมื่อพูดถึงรังผึ้งหอยโข่ง หลายคนอาจพอเดาออกว่าเป็นการเกาะรวมกันเป็นกลุ่มของผึ้งที่มีรูปร่างคล้ายหอยโข่ง อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 32 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ใครๆ ก็เรียกสัตว์กลุ่มนี้ว่า กบ

หลายคนเมื่อมองผ่านๆ ไม่สังเกตให้ดีมักเรียกสัตว์กลุ่มนี้ที่มีหน้าตาคล้ายกันว่า กบ แต่จริงๆ เมื่อนำเอาสัตว์กลุ่มนี้มาเปรียบเทียบและสังเกตให้ดีจะพบความแตกต่าง อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 30 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

แมลงตัวเล็กๆ ที่มีลักษณะพิเศษ

หลายคนเมื่อพูดถึงเสี้ยนนม อาจสงสัยว่าเป็นชื่อของอะไร แท้จริงเป็นชื่อของแมลงที่มีขนาดเล็กและมีจุดเด่นไม่เหมือนแมลงชนิดอื่น อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 32 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

สาหร่ายผมนาง สาหร่ายที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจของเกาะยอ

หลายคนเมื่อได้ยินชื่อสาหร่ายผมนาง อาจทายได้ว่าสาหร่ายชนิดนี้ต้องมีลักษณะเหมือนเส้นผมของผู้หญิง อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 29 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ความสวยและเจ้าเล่ห์ของรองเท้านารี

เมื่อพูดถึงรองเท้านารี หลายคนคงรู้ว่าคือกล้วยไม้ชนิดหนึ่ง ที่มีสีสันสวยงาม รูปทรงแปลกตา จุดเด่นอยู่ที่กลีบดอกที่เป็นรูปถุงคล้ายหัวรองเท้าสตรี เรียกว่ากลีบกระเป๋า ทำให้เป็นที่มาของชื่อไทยและชื่อภาษาอังกฤษคือ Lady’s slipper orchid รวมทั้งชื่อสกุลคือ Paphiopedilum อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 40 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

พลังงานสะอาด…แสงอาทิตย์บนดินแดนหลังคาโลก (ทิเบต)

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอบทความเรื่อง พลังงานสะอาด…แสงอาทิตย์บนดินแดนหลังคาโลก (ทิเบต) ตลอด 2-3 ปีที่ผ่านมา ทิเบตกำลังมุ่งหน้าสู่ความเป็น “ดินแดนพลังสะอาด” แทบทุกหนทุกแห่งในกรุงลาซาตลอดจนชนบทที่ห่างไกล จะพบเครื่องใช้ไฟฟ้าที่อาศัยพลังงานแสงอาทิตย์ (รวมถึงพลังงานชีวภาพและพลังงานลม) สมกับเป็นประเทศรุ่มรวยแสงอาทิตย์มากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก คือสามารถรับแสงแดดเฉลี่ยถึง 3,000 ชั่วโมงต่อปี เหตุนี้เองชาวทิเบตจึงมีเครื่องน้ำร้อนและฮีตเตอร์จากพลังงานแสงอาทิตย์ใช้กันแทบทุกบ้านเพื่อใช้งานยามฤดูหนาวรวมถึงเตาอบอาหารที่แต่เดิมใช้น้ำมันจามรีเป็นเชื้อเพลิง ก็เปลี่ยนมาเป็นการใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ ซึ่งมีมากถึง 395,000 ครัวเรือน หม่าเฉิงเจีย ผู้อำนวยการกรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของเขตกครองตนเองทิเบต เล่าถึงพลังงานสะอาดนี้ว่า “ในอดีตคนทิเบตขาดแคลนไฟฟ้าเฉลี่ย 25 ล้านกิโลวัตต์ต่อชั่วโมง แต่ตอนนี้เรามีพลังงานแสงอาทิตย์ที่ยิ่งใหญ่และแก้ไขปัญหานี้ได้แล้ว” รายละเอียดเพิ่มเติมเข้าถึงได้ที่ http://vcharkarn.com/varticle/57049– ( 59 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
1 Comment  comments