magnify
magnify

Open Knowledge for all 

formats

คนที่มีอาการงัวเงียหรือขี้เซาชอบอาหารขยะ

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอข่าววิทย์เรื่อง คนที่มีอาการงัวเงียหรือขี้เซาชอบอาหารขยะ (junk food)

การไม่นอนหลับ เปลี่ยนแปลงระบบสมองและส่งผลให้มีความอยากอาหารที่มีแคลลอรีสูง

การศึกษาใหม่ค้นพบว่า การไม่นอนหลับส่งผลกระทบต่อสมองอย่างมาก คนที่ไม่ได้นอนจะสูญเสียความตั้งใจในการเลือกอาหารอย่างถูกต้อง การเชื่อมต่อระหว่างสมองกับการกินสามารถอธิบายได้ว่า ทำไมคนที่นอนหลับไม่สบายถึงมีแนวโน้มที่จะอ้วนได้ง่าย

Read more…– ( 37 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

นักวิทย์แบ่งกลิ่นออกเป็น 10 ชนิด

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอข่าววิทย์เรื่อง นักวิทย์แบ่งกลิ่นออกเป็น 10 ชนิด

คนเราจัดกลุ่มรสชาติได้ 5 กลุ่ม แต่สำหรับเรื่องกลิ่น นักวิทยาศาสตร์ชี้ว่า ควรจะมีการจัดกลุ่มของกลิ่นเป็น 10 กลุ่ม โดยใช้วิธีการทางสถิติเข้ามาช่วยในการพัฒนาการจัดกลุ่มให้เป็นระบบ

Read more…– ( 53 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

เลเวนฮุคกับการค้นพบแบคทีเรีย

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอบทความเรื่อง เลเวนฮุคกับการค้นพบแบคทีเรีย

ความสามารถในการมองเห็นของมนุษย์ที่มีอยู่อย่างจำกัด ทำให้มนุษย์อย่างเราๆ ไม่สามารถมองเห็นสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กมากชนิดหนึ่งได้ นั่นก็คือ  “แบคทีเรีย”  (bacteria)

Read more…– ( 122 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ตัวต่อก่อสร้างแห่งอนาคต

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอข่าววิทย์เรื่อง ตัวต่อก่อสร้างแห่งอนาคต

ตัวต่อรูปตัวเอ็กซ์ที่มีน้ำหนักเบาสามารถนำมาใช้ในการก่อสร้าง รถ เครื่องบิน ตึกอาคาร หรือแม้กระทั่งยานอวกาศได้
เด็กๆ ที่เคยเล่นกับตัวต่อจะรู้ดีว่าทำไมมันถึงมีประโยชน์อย่างมาก โดยเด็กๆ นั้นสามารถที่จะใช้ตัวต่อเหล่านั้นสร้างสิ่งต่างๆ มากมายเช่น เครื่องบิน ปราสาท หรือแม้กระทั่งรถแข่ง และถ้าบางส่วนของสิ่งประดิษฐ์เหล่านั้นเกิดหลุดออกหรือเสียหาย เด็กๆ ไม่ต้องเริ่มต้นใหม่ตั้งแต่เริ่ม พวกเขาสามารถแทนที่ในส่วนของตัวต่อที่เสียหายได้ และจากสิ่งที่เด็กๆ เล่นตัวต่อนั้นคือสิ่งที่สร้างโครงการของผู้ใหญ่ด้วยเช่นกัน
Read more…– ( 27 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

6 ความเชื่อผิดๆ เรื่องสุขภาพ

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอบทความเรื่อง 6 ความเชื่อผิดๆ เรื่องสุขภาพ

6 ความเชื่อผิดๆ เรื่องสุขภาพ ได้แก่ ควรดื่มน้ำวันละ 8 แก้ว จริงหรือ น้ำตาลทำให้เด็กไฮเปอร์ ร่างกายของคนเราต้องการความช่วยเหลือในการล้างพิษ (Detoxification) ยาต้านอนุมูลอิสระช่วยให้อายุยืน อ้วนเกินเกณฑ์นิดหน่อยทำให้อายุสั้นลง และเราควรกินและอยู่แบบมนุษย์ยุคหิน รายละเอียดเพิ่มเติมเข้าถึงได้ที่ http://vcharkarn.com/varticle/57523– ( 43 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

จำเป็นหรือไม่ ในการตรวจยีนเพื่อหาความเสี่ยงการเป็นมะเร็งเต้านม

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอบทความเรื่อง จำเป็นหรือไม่…ในการตรวจยีนเพื่อหาความเสี่ยงการเป็นมะเร็งเต้านม

มะเร็งเต้านม (Breast cancer) เป็นมะเร็งที่พบบ่อยในผู้หญิงไทย โดยพบมากเป็นอันดับ 2 รองจากมะเร็งปากมดลูก เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของโรคมะเร็งที่พบในผู้หญิงเลยทีเดียว จากข่าวการตัดสินใจผ่าตัดเต้านมออกของดาราดังอย่าง แอนเจลิน่า โจลี่ ด้วยเหตุผลที่ว่าเธอมีโอกาสการเป็นมะเร็งเต้านมสูงถึง 87% เพราะมีความผิดปกติที่ยีน BRCA ข่าวดังกล่าวแพร่สะพัดไปในอินเตอร์เน็ตอย่างรวดเร็ว จนเกิดเป็นกระแสวิพากษ์วิจารณ์ว่าจำเป็นหรือไม่ที่ต้องตรวจพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอเพื่อหาปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคมะเร็งเต้านม

Read more…– ( 49 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ดร.ชาลี วรกุลพิพัฒน์ ผู้ได้รับประกาศนียบัตรด้าน Information Security – CISSP

ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ผพว. มอบกระเช้าแสดงความยินดีกับ ดร.ชาลี วรกุลพิพัฒน์ นักวิจัยจากหน่วยวิจัยเทคโนโลยีไร้สาย ข้อมูล ความมั่นคงและนวัตกรรมอิเล็กทรอนิกส์เพื่ออนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม เนคเทค ซึ่งสอบผ่านประกาศนียบัตร Certified Information Systems Security Professional (CISSP)

http://www.nstda.or.th/pub/2013/20130923-NSTDA-PRIDE-NECTEC.pdf

รายการอ้างอิง :
ดร.ชาลี วรกุลพิพัฒน์ ผู้ได้รับประกาศนียบัตรด้าน Information Security – CISSP. วันที่ 23  กันยายน  2556.– ( 74 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

13 มีนาคม “วันช้างไทย”

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอบทความเรื่อง  13 มีนาคม “วันช้างไทย”

วันช้างไทย  เกิดจากการริเริ่มของคณะอนุกรรมการประสานงานการอนุรักษ์ช้างไทย ซึ่งเป็นหน่วยงานประสานงาน องค์การภาครัฐและเอกชนที่ทำงานเกี่ยวกับการอนุรักษ์ช้างไทยคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เนื่องจากเล็งเห็นว่า  หากมีการสถาปนาวันช้างไทยขึ้น ก็จะช่วยให้ประชาชนคนไทย หันมาสนใจช้าง รักช้าง หวงแหนช้าง ตลอดจนให้ความสำคัญต่อการให้ความช่วยเหลืออนุรักษ์ช้างมากขึ้น

Read more…– ( 30 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

โลกเหมาะกับการดำรงชีวิตอีก 1,750 ล้านปี

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอข่าววิทย์เรื่อง โลกเหมาะกับการดำรงชีวิตอีก 1,750 ล้านปี

นักดาราศาสตร์ชีววิทยาจากมหาวิทยาลัยอีสต์แองเกลีย สหราชอาณาจักร ค้นพบว่า การเหมาะกับการดำรงอยู่ของสิ่งมีชีวิตบนโลกจะคงอยู่อีกอย่างน้อย 1.75 พันล้านปีเท่านั้น  โดยตัวเลขนี้มาจากการพิจารณาระยะห่างระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ที่ควรจะเป็นระยะที่เหมาะสมที่จะทำให้น้ำบนโลกยังคงสภาพเป็นของเหลวอยู่ได้

Read more…– ( 58 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

อัลปราโซแลม วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอบทความเรื่อง อัลปราโซแลม วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท

ปัจจุบัน มีการใช้ ยาอัลปราโซแลม ซึ่งเป็นวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทไปในทางที่ผิด เช่น นำไปใช้เป็นยานอนหลับอย่างแรงเพื่อล่วงละเมิดทางเพศ หรือนำไปผสมในสารเสพติด  แต่ในทางการแพทย์ การใช้ยาในทางที่ถูกต้องก็มีประโยชน์  ซึ่งยาชนิดนี้แพทย์จะนำมาใช้เพื่อการรักษาโดยมีข้อบ่งชี้หลายอย่าง

Read more…– ( 43 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments