magnify
magnify

Open Knowledge for all 

formats

จะฆ่าตัวตายหรือไม่ เลือดบอกได้

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอบทความเรื่อง จะฆ่าตัวตายหรือไม่ เลือดบอกได้

จากสถิติของศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค (Centers for Disease Control and Prevention : CDC) ในปี 2009 มีผู้เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตายมากกว่าการเกิดอุบัติเหตุทางรถยนต์ซะอีก แต่การจะบอกว่าใครกำลังจะฆ่าตัวตายหรือไม่นั้น แม้กระทั่งแพทย์ผู้เชี่ยวชาญก็ยังยากที่จะบอก

Read more…– ( 66 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

หุ่นยนต์คิโรโบะโทรศัพท์จากอวกาศกลับมายังพื้นโลก

สำนักข่าวไทยนำเสนอข่าวไอที
ญี่ปุ่น 5 ก.ย. 2013  – คิโรโบะ หุ่นยนต์อวกาศของญี่ปุ่น โทรศัพท์จากสถานีอวกาศนานาชาติกลับมายังพื้นโลกได้เป็นครั้งแรก

วันนี้มีการแพร่ภาพขณะที่ คิโรโบะ หุ่นยนต์อวกาศตัวแรกของญี่ปุ่น โทรศัพท์จากสถานีอวกาศนานาชาติกลับมายังพื้นโลกได้เป็นครั้งแรก ซึ่งเหตุการณ์ดังกล่าวถูกบันทึกไว้เมื่อ 2 สัปดาห์ก่อน ภารกิจของหุ่นยนต์คิโรโบะครั้งนี้ นับเป็นก้าวสำคัญของวงการอวกาศ เนื่องจากเป็นครั้งแรกที่หุ่นยนต์สามารถติดต่อกลับมายังพื้นโลก
Read more…– ( 65 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ตะพาบพันธุ์ใหญ่ที่สุดในโลก

ตะพาบม่านลาย (Chitra chitra Nutphand, 1986) เป็น 1 ใน 6 ชนิดของพันธุ์ตะพาบพื้นเมืองของไทย เป็นตะพาบพันธุ์ใหญ่ที่สุดในโลก มีน้ำหนักมากกว่า 200 กิโลกรัม มีชื่อเรียกท้องถิ่น เช่น กริวลาย กราวด่าง ม่อมลาย และมั่นลาย

อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 37 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

แรงโน้มถ่วงบนโลกไม่เท่ากัน

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอข่าววิทย์เรื่อง แรงโน้มถ่วงบนโลกไม่เท่ากัน

ทีมนักวิจัยจากออสเตรเลีย-เยอรมัน ได้สร้างแผนที่แรงโน้มถ่วงของโลกแบบความละเอียดสูง และได้แสดงให้เห็นว่า ความแปรผันของแรงโน้มถ่วงของโลกนั้นมีสูงกว่าที่เคยคาดการณ์ไว้ถึง 40 เปอร์เซ็นต์

งานวิจัยนี้นำโดย ดร. คริสเตียน เฮิร์ต แห่งมหาวิทยาลัยเคอร์ติน ในการศึกษานั้น นักวิจัยได้ใช้ข้อมูลจากกระสวยอวกาศของสหรัฐอเมริกา โดยมีผู้เชี่ยวชาญจากทางมหาวิทยาลัยเคอร์ติน ออสเตรเลีย และมหาวิทยาลัยมิวนิค มาช่วยกันปรับปรุงแผนที่แรงโน้มถ่วงของโลกให้มีความละเอียดสูงขึ้น รายละเอียดเพิ่มเติมเข้าถึงได้ที่ http://vcharkarn.com/vnews/447429– ( 61 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

อยากรู้จักอึ่งกรายจันทบูรณ์

หลายคนอาจสงสัยทำไมชื่ออึ่งกรายจันทบูรณ์ แต่คงพอเดาออกว่าเป็นเพราะพบครั้งแรกที่จังหวัดจันทบุรี

อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 36 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ยืนยันโลกเคยมีภูเขาไฟยักษ์จริง

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอข่าววิทย์เรื่อง ยืนยันโลกเคยมีภูเขาไฟยักษ์จริง

นักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮูสตัน ได้ค้นพบว่า โลกเคยมีภูเขาไฟใหญ่ยักษ์แบบเดี่ยว ขนาดเท่ากับเกาะอังกฤษ และใหญ่เทียบเท่ากับภูเขาไฟยักษ์บนดาวอังคาร อันเป็นภูเขาไฟที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะเลยทีเดียว

ศาสตราจารย์ วิลเลียม ซาเกอร์ แห่งภาควิชาธรณีวิทยาและบรรยากาศ มหาวิทยาลัยฮูสตัส ได้เริ่มศึกษาภูเขาไฟตั้งแต่เมื่อ 20 ปีที่แล้ว และล่าสุด ได้ค้นพบว่าโลกเคยมีภูเขาไฟโบราณ ชื่อ Tamu Massif อยู่จริง

Read more…– ( 46 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ปัญหาพฤติกรรมของเด็กกับโรคร้ายในวัยโต

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอข่าววิทย์เรื่อง ปัญหาพฤติกรรมของเด็กกับโรคร้ายในวัยโต

เด็กที่มีปัญหาด้านพฤติกรรมอาจจะเสี่ยงต่อการเป็นโรคเรื้อรังในวัยผู้ใหญ่ ทั้งโรคหัวใจ โรคอ้วน เบาหวาน ตลอดจนโรคติดเชื้อต่างๆ ได้ง่าย

Read more…– ( 61 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

รังผึ้งหอยโข่งของผึ้งมิ้ม

เมื่อพูดถึงรังผึ้งหอยโข่ง หลายคนอาจพอเดาออกว่าเป็นการเกาะรวมกันเป็นกลุ่มของผึ้งที่มีรูปร่างคล้ายหอยโข่ง

อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 32 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ใครๆ ก็เรียกสัตว์กลุ่มนี้ว่า กบ

หลายคนเมื่อมองผ่านๆ ไม่สังเกตให้ดีมักเรียกสัตว์กลุ่มนี้ที่มีหน้าตาคล้ายกันว่า กบ แต่จริงๆ เมื่อนำเอาสัตว์กลุ่มนี้มาเปรียบเทียบและสังเกตให้ดีจะพบความแตกต่าง

อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 30 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

บทบาทบรรณาธิการในการพัฒนางานเขียน

สืบเนื่องจากหลักสูตรการอบรม เรื่อง ขีดเขียนเรื่องวิทย์ เมื่อวันที่ 5-6 กันยายน 2556 ที่บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร โดยฝ่ายสื่อสารวิทยาศาสตร์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ผ่านมา วิทยากรอีกท่านหนึ่ง คือ คุณณงลักษณ์ จารุวัฒน์ นักแปล และบรรณาธิการหนังสือ ได้มาพูดให้ฟังเรื่อง บทบาทบรรณาธิการในการพัฒนางานเขียน บรรยากาศระหว่างการพูด สนุกมากแต่มีสาระเพียบ จากประสบการณ์ที่คุณณงลักษณ์ ถ่ายทอดให้ฟัง เริ่มจาก ที่มาของคำว่า “บรรณาธิการ”

ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายไว้ดังนี้

  • ผู้จัดหา เลือกเฟ้น รวบรวม ปรับปรุง และรับผิดชอบเรื่องที่ลงพิมพ์
  • บุคคลซึ่งรับผิดชอบในการจัดทำ ตรวจแก้ คัดเลือก หรือควบคุมบทประพันธ์ หรือสิ่งอื่นในหนังสือพิมพ์ Read more…

– ( 1084 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments