magnify
magnify

Open Knowledge for all 

formats

HIGH HOPES FOR NANOTEC CENTRE’S ‘SMART’ GLASS Technology enables users to remotely change a window’s colour or opacity

Research by the National Nanotechnology Centre has resulted in the successful development of what has been dubbed  “Smart” glass, which enables the nature of display and other forms of glass ot be changed at just the flick of a switch.  read more

Reference : JIRAPAN BOONNOON. HIGH HOPES FOR NANOTEC CENTRE’S ‘SMART’ GLASS Technology enables users to remotely change a window’s colour or opacity. The Nation. ฉบับวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556. หน้า 1B,5B.– ( 71 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

มีการใช้พลังงานลมเพิ่มมากขึ้น

ข่าววิทยาศาสตร์ล่าสุดจากวารสารเนเจอร์  ฉบับวันที่ 21  กุมภาพันธ์  2556
ข่าวหมวด Trend watch -  เมื่อปี 2012 ทั้งประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศจีน ต่างติดตั้งกังหันลมที่มีความสามารถผลิตพลังงานได้ประมาณ 13 Gigawatta , GW นี้เป็นข้อมูลจาก Global WindEnergy Council ที่เป็นสมาคมการค้าอุตสาหกรรม (Industry’s Trade Association) สำนักงานใหญ่ตั้งที่ กรุงบรัสเซสส์ เบลเยี่ยม
สถิติของโลกในการติดตั้งอุปกรณ์ เพื่อผลิตพลังงานจากลมนั้น พบว่า ยอดรวมของโลก เท่ากับ 282.4 GW โดยเป็นประเทศจีน 75.6 GW ซึ่งมากกว่า 1 ใน 4 ส่วนของทั้งโลก และเป็นกำลังผลิตราว 5.4 GW  (คิดเป็นร้อยละ 2 ของทั้งโลก)  และเป็นกังหันที่ติดที่ชายฝั่งทะเล มากที่สุดที่ทิศเหนือของยุโรป สรุปถือว่ามีการเติบโตร้อยละ 18 ในปี 2012

อ้างอิง : More power from the wind .  (2013). Seven days : The News in  brief. Nature., 494 (7437), 286 – 287.
http://www.nature.com/polopoly_fs/1.12444!/menu/main/topColumns/topLeftColumn/pdf/494286a.pdf– ( 54 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

“การออกแบบผลิตภัณฑ์เชิงนิเวศเศรษฐกิจ” (Eco-Product Design: ECD)

สถาบันวิทยาการ สวทช. (NSTDA Academy) ได้ออกแบบและพัฒนาหลักสูตร “การออกแบบผลิตภัณฑ์เชิงนิเวศเศรษฐกิจ” (Eco-Product Design: ECD) เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับภาคอุตสาหกรรมและสาธารณชนเกี่ยวกับการออก แบบผลิตภัณฑ์และบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

รายการอ้างอิง :
“การออกแบบผลิตภัณฑ์เชิงนิเวศเศรษฐกิจ” (Eco-Product Design: ECD). SMEs PLUS. ฉบับ วันที่ 01 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556. หน้า 15.– ( 102 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

เร่ขายฝัน

“ใครอยากมีฝันล้อมวงตรงเข้ามา มีฝันที่ว่าแบบหรูเลือกดูกัน.”
ถ้าใครคุ้นกับเนื้อเพลงนี้ คุณก็น่าจะอายุประมาณสามสิบปลาย ๆ ถึงสี่สิบต้น ๆ (เราอายุใกล้กันครับ)
ผมเหลือบเห็นนโยบายการนำไอทีเข้ามาเสนอในการหาเสียงเลือกตั้งผู้ว่าฯ กรุงเทพฯ ที่กำลังจะเกิดขึ้นในวันอาทิตย์ที่จะถึงนี้แล้ว เลยนึกสนุกหยิบเอาความฝันของผมมาปัดฝุ่นเร่ขายให้ว่าที่ผู้ว่าฯ เอาไปทำให้เป็นจริง Read more…– ( 48 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

สเต็มเซลล์ iPS เดินหน้าต่อไป

ข่าววิทยาศาสตร์ล่าสุดจากวารสารเนเจอร์  ฉบับวันที่ 21  กุมภาพันธ์  2556
ข่าวหมวดวิจัย – เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2013 มีการศึกษาทางคลีนิกครั้งแรกของโลก ในการนำ pluripotent stem cell ให้แก่มนุษย์
คณะกรรมการแห่งสถาบัน National Institute of  Biomedical Innovation ที่กรุงโอซากา  ประเทศญี่ปุ่น  ได้อนุมัติให้ ทำการศึกษาเพื่อนำไปรักษาผู้ป่วยโรคการเสื่อมสภาพของเซลล์เยื่อชั้นในของลูกตาในผู้สูงอายุ (macular degeneration) ที่อาจก่อให้ตาบอดได้  ผู้นำการวิจัย Masayo Takahashi แห่งสถาบัน RIKEN  เมืองโกเบ  กำลังรอการอนุมัติจากรัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งคาดว่าน่าจะได้รับการอนุมัติ ก่อนเดือน มีนาคม 2014

อ้างอิง :  Go-ahead for iPS.  (2013). Seven days : The News in  brief. Nature., 494 (7437), 286 – 287.
http://www.nature.com/polopoly_fs/1.12444!/menu/main/topColumns/topLeftColumn/pdf/494286a.pdf– ( 58 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

คำตัดสิน สิทธิบัตรยีนส์

ข่าววิทยาศาสตร์ล่าสุดจากวารสารเนเจอร์  ฉบับวันที่ 21  กุมภาพันธ์  2556
ข่าวหมวดนโยบาย
เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2013 ศาลของรัฐบาลกลาง ประเทศออสเตรเลีย ซิดนีย์  ได้ตัดสินคดีความที่สำคัญ ว่างสามารถจดสิทธิบัตรยีนส์ได้ จากเหตุผลที่ว่าขนวบการแยกออกในยีนส์มนุษย์ เป็นผลิตภัณฑ์ที่เปลี่ยนธรรมชาติมนุษย์  โดยมีการสนับสนุนในการตัดสินใจเรื่องนี้
นี้เป็นสิทธิบัตรที่ยื่นขอที่ประเทศออสเตรเลีย โดยบริษัท Myriad Genetics ซึ่งเป็นบริษัทเกี่ยวกับพันธุกรรม มีฐานอยู่ที่ Salt Lake City รัฐยูท่าห์
รวมทั้งกำลังมีปัญหาเรื่องสิทธิบัตร ในศาลสหรัฐอเมริกาด้วย  มีการคาดว่าน่าจะมีคำตัดสินก่อนศาลสูงสุด ในปลายปีนี้

อ้างอิง : Gene-patent ruling .  (2013). Seven days : The News in  brief. Nature., 494 (7437), 286 – 287.
http://www.nature.com/polopoly_fs/1.12444!/menu/main/topColumns/topLeftColumn/pdf/494286a.pdf– ( 151 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

สัมมนาธุรกิจสีเขียว

องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) ร่วมกับ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้จัดสัมมนาเรื่อง “การก้าวสู่การเป็นผู้นำด้านธุรกิจสีเขียวระดับโลก”เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันและเพื่อลงนามบันทึกความเข้าใจ (MOU) ในการส่งเสริมการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเมื่อเร็วๆนี้

รายการอ้างอิง :
สัมมนาธุรกิจสีเขียวประชาชาติธุรกิจ ฉบับวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556.– ( 44 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

นอร์ทเทิร์น ฟูดวัลเลย์มากกว่าคลัสเตอร์แต่ไม่เจอ ‘หุบเขา’

เทรนด์ที่หลายคนบอกว่ากำลังมาถูกทางคือ “การจับกลุ่ม” โดยหลายภาคส่วน เพื่อให้เกิดการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยสรุปให้ฟังดูเข้าใจง่ายก็คือ การรวมกลุ่มของกลุ่มผู้ประกอบการ นักวิชาการ เทคโนโลยี เงินทุน ภาครัฐมารุมกัน ช่วยกันให้เกิดการพัฒนาในทุกส่วน เกิดการสร้างเน็ตเวิร์ก ช่วยเหลือกันในกลุ่ม และอาจจะต่อเนื่องเชื่อมโยงจากกลุ่มหนึ่งไปอีกกลุ่มหนึ่งด้วย

รูปแบบของ ไทยแลนด์ ฟูดวัลเลย์ “หุบเขาอาหาร” ก็เป็นหลักการเดียวกัน แต่จะออกมาหน้าตาเป็นแบบไหน อย่างไร ตอนนี้ บอกเลยว่าสองปีที่มีการพูดถึง ใครขับเคลื่อน ใครเจ้าภาพ จะเริ่มเมื่อไหร่ จนถึงจุดนี้ยังไม่เห็นภาพชัดเจน มีแต่การพูดว่าจะกระจายไปในสี่ภาค แต่สำหรับภาคเหนือเป็นภาคแรกที่มีความพร้อมมากที่สุดและกำลังเกิดการขยับ ในกลุ่มแบบไม่รอใคร Read more…– ( 155 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

หนึ่งตลาด ร้อยพฤติกรรม (1)

มูลค่าเพิ่มควบคู่กับการ ให้ภาคเอกชนลงทุน  นวัตกรรมเพื่อสีเขียวมากขึ้น  หากมองย้อนกลับ ไปที่ สวทช. กับทวีศักดิ์ กออนันตกูล ตลาดโลกยอมรับด้วยการเปิดเออีซีนั้น ทวีศักดิ์ ยืนยันว่าได้เตรียมความที่ผ่านมา เอสเอ็มอีที่ไม่ประสบความสำเร็จจากพร้อมอย่างต่อเนื่องเพราะพัฒนางานวิจัยมา ตลอดการนำนวัตกรรมไปใช้ให้เกิดประโยชน์ เนื่องจากเพื่อให้เอกชนสามารถนำไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ออกสู่ตลาดไม่แตกต่างและ โดดเด่น ไม่เพิ่มมูลค่าธุรกิจได้ โดยแต่ละปีจะมีเอกชนร่วมมือกับตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างแท้จริง ทำสวทช.ผลิตงานวิจัยออกสู่ตลาดได้ประมาณ 100 ให้สินค้าไม่ได้รับความนิยม เพราะบางรายสามารถบริษัท และมีงานวิจัยมากกว่า 1,000 ผลงานเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ให้แตกต่างจากรายอื่นประมาณสามารถนำไปพัฒนาได้ 20-30% เท่านั้น แต่สินค้าที่จะได้รับความนิยมสูงนอกจากนี้ สวทช.ยังได้วางแผนงานระยะยาวจะสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มได้ 500% หรือเป็นระหว่างปี 2555-2559 ในการสร้างมูลค่าเพิ่มต่อสินค้าที่สามารถเปลี่ยนแปลงโลกได้ทันที เมื่อผู้เศรษฐกิจ ภาคอุตสาหกรรม และภาคการเกษตรของบริโภคได้เห็นสินค้าและใช้สินค้าแล้วประเทศมากที่สุด โดยต้องเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจให้สิ่งสำคัญอีกด้าน คือ ควรปลูกฝังค่านิยมให้คนได้ 3 เท่าของวงเงินงบประมาณที่ได้รับจากภาครัฐไทยหันมาใช้สินค้าไทย ผลิตในประเทศ คิดค้น Read more…– ( 160 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ก.วิทย์หนุนลำไยบุกตลาดอินเดีย

นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วท.) มอบนโยบายให้สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติเป็นเจ้าภาพสนับสนุนการส่งออกลำไยไป อินเดีย  โดยจัดกิจกรรม “การจับคู่ธุรกิจ หรือ business matching” ระหว่างผู้ผลิตสินค้าลำไยของไทยกับบริษัทผู้นำเข้าและจัดจำหน่ายลำไยใน ประเทศอินเดีย โดยมีการให้ความรู้และสร้างความเชื่อมั่นในคุณภาพลำไยไทยว่า ได้บริหารจัดการผลผลิตด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแบบครบวงจร รวมถึงการจัดนิทรรศการเกี่ยวกับคุณค่าทางโภชนาการและประโยชน์ของลำไย และผลิตภัณฑ์นวัตกรรมการแปรรูปลำไยของคนไทย เช่น ลำไยอบแห้งด้วยสุญญากาศ เครื่องสำอางจากสารสกัดจากเม็ดลำไย Read more…– ( 70 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments