magnify
magnify

Open Knowledge for all 

Home Posts tagged "OA"
formats

ผลงานวิชาการจอมปลอมใน Open Access

การประชุมวิชาการประจำปี 2556 ฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี “สารสนเทศเพื่อการิจัยในยุค Open Access” วันที่ 27-28 มิถุนายน 2556 ห้องบอลรูม 1 ชั้น 3 โรงแรมดิเอ็มเมอรัล กรุงเทพฯ หัวข้อการบรรยาย : ผลงานวิชาการจอมปลอมใน Open Access บรรยายโดย : รศ.ดร.ธีรยุทธ วิไลวัลย์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เอกสารประกอบการบรรยาย สรุปจากการบรรยาย ขั้นตอนหนึ่งของงานวิจัย คือ การตีพิมพ์ผลงานเผยแพร่ในปัจจุบันจะเป็น Publish หรือ Perish ซึ่งมีตัวชี้วัดปริมาณคุณภาพผลงานวิจัยมากมาย เช่น จำนวนบทความ การอ้างอิง วารสารคุณภาพสูง ฯลฯ จึงมีสำนักพิมพ์หาช่องทางการทำธุรกิจแบบใหม่ในยุค OA วารสารแบบ Traditional Journal ผู้อ่านจะต้องจ่ายคือห้องสมุดบอกรับ จำกัดสิทธิ์ในการเข้าอ่าน ส่วนวารสาร Open Access Journals คือ ผู้แต่งบทความจ่ายค่าตีพิมพ์

Read More…

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

สถานการณ์การเผยแพร่ผลงานวิชาการในยุค OA (บริการสารสนเทศเพื่องานวิจัย : จะสนับสนุนและมีส่วนร่วมได้อย่างไร)

การประชุมวิชาการประจำปี 2556 ฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี “สารสนเทศเพื่อการิจัยในยุค Open Access” วันที่ 27-28 มิถุนายน 2556 ห้องบอลรูม 1 ชั้น 3 โรงแรมดิเอ็มเมอรัล กรุงเทพฯ  หัวข้อการบรรยาย : สถานการณ์การเผยแพร่ผลงานวิชาการในยุค OA (บริการสารสนเทศเพื่องานวิจัย : จะสนับสนุนและมีส่วนร่วมได้อย่างไร) บรรยายโดย : รศ.อังสนา ธงไชย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เอกสารประกอบการบรรยาย   สรุปจากการบรรยาย OA เกิดขึ้นเมื่อปี 2004 มีการพัฒนาเรื่อยมาจนเป็นที่ยอมรับจากแนวโน้มของยุคดิจิทัล โมเดล การตีพิมพ์เชิงพาณิชย์ เน้นการตีพิมพ์แบบออนไลน์ซึ่งมีการสร้างคลังเอกสาร (Repository) เป็นคลังเอกสารแบบเปิด (OA) เกิดการสนับสนุนอย่างกว้างขวางมีประโยชน์ต่อการวิจัย นอกจากนี้ OA ยังมีประโยชน์ต่อสังคม เจ้าของผลงาน และ หน่วยงานวิจัยอีกด้วย – ( 239 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
1 Comment  comments 
formats

ควรลงพิมพ์ หรือเป็นบรรณาธิการ ในวารสารที่เป็น Open Access หรือไม่

จากการประชุมวิชาการประจำปีของฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (STKS) ประจำปี 2556 ที่เพิ่งผ่านไปเมื่อวันที่ 27-28 มิถุนายน นั้น รศ.ดร.ธีรยุทธ วิไลวัลย์ วิทยากรท่านหนึ่ง ได้ขึ้นบรรยายในหัวข้อเรื่อง ผลงานวิชาการจอมปลอมใน Open Access (สไลด์การบรรยายของอาจารย์สามารถติดตามได้ที่ http://stks.or.th/th/knowledge-bank/28-library-science/4134-predatory-publishers.html) ได้กรุณาส่งบทความเรื่อง Should I publish in, or be an editor for, an Open Access (OA) journal?: a brief guide (http://scitech.sla.org/pr-committee/oaguide/) มาให้เพิ่มเติมค่ะ เลยขอส่งต่อให้แฟนพันธุ์แท้ของ STKS และผู้ที่เข้าร่วมงานอ่านกันนะคะ ทั้งนี้ สามารถติดตามอ่านบทสรุปการบรรยายหัวข้อต่างๆ ของการประชุมวิชาการ STKS ประจำปี 2556  ได้ที่ http://stks.or.th/blog และติดตามสื่อนำสนอ (ที่ได้รับการอนุญาตให้เผยแพร่) ได้ที่ http://stks.or.th/th/news/3686-annual-conference-2013.html– ( 83 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

Open Access สารสนเทศทางวิทยาศาสตร์: แนวทางกำหนดนโยบาย โดย UNESCO

UNESCO ได้จัดพิมพ์ “Policy Guidelines for the Development and Promotion of Open Access” เพื่อเพิ่มความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดเรื่อง Open Access (OA) พร้อมแนะนำขั้นตอนที่เป็นรูปธรรมในการวางนโยบายที่เกี่ยวข้องกับ OA คู่มือเล่มนี้ถูกจัดทำขึ้นเพื่อโปรโมท OA ด้วยการเสนอมุมมองต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ OA เพื่อตอบสนองความต้องการของการพัฒนานโยบายที่เกี่ยวข้องกับ OA ในหน่วยงานของรัฐ สถาบัน หน่วยงานวิจัยและพัฒนา ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการให้ทุนทางวิทยาศาสตร์ เนื้อหาภายในคู่มือ แบ่งออกเป็น 9 หมวด คือ The Development of Open Access to Scientific Information and Research Approaches to Open Access The Importance of Open Access The Benefits

Read More…

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments