magnify
magnify

Open Knowledge for all 

Home Archive for category "S&T Stories" (Page 30)
formats

การหมดประจำเดือนมีสาเหตุจากผู้ชาย

Published on June 20, 2013 by in S&T Stories

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอข่าววิทย์เรื่อง การหมดประจำเดือนมีสาเหตุจากผู้ชาย หลังจากหลายทฤษฎีในหลายสิบปีที่ผ่านมาไม่ได้ข้อสรุป ล่าสุด นักวิจัยเริ่มได้ข้อสรุปแล้วว่า สิ่งที่ทำให้ผู้หญิงหมดประจำเดือนก็คือ การที่ “ผู้ชาย”ไม่เลือกผู้หญิงอายุมาก ทำให้การเจริญพันธุ์หายไปในที่สุดนั่นเอง  ศาสตราจารย์ รามา สิงห์ นักวิจัยทางวิวัฒนาการของยีน ทำการสร้างแบบจำลองคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นโดย รองศาสตราจารย์โจนาธาน สโตน และศาสตราจารย์เกียรติคุณราชาร์ด มอร์ตัน ทีมงาน จนกระทั่งค้นพบว่า การหมดประจำเดือนของผู้หญิงคือผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นแบบไม่ได้ตั้งใจจาก”การคัดเลือกโดยธรรมชาติ” ซึ่งจะเห็นได้ชัดในกลุ่มหญิงที่มีอายุเยอะ นานมาแล้วที่มนุษย์ผู้ชายจะชอบผู้หญิงที่มีอายุน้อยกว่าในการเลือกคู่ ซึ่งนักวิจัยพบว่า สิ่งนี้เองที่มีผลต่อมนุษย์ในยุคต่อมา จากทฤษฎีวิวัฒนาการของชาร์ล ดาร์วิน รายละเอียดเพิ่มเติมเข้าถึงได้ที่http://vcharkarn.com/vnews/447060– ( 32 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

เด็กไทยคว้า 3 รางวัลเวที “ISEF 2013”

วันนี้ (18 พ.ค.) ตามเวลาประเทศไทย ซึ่งเป็นเช้าวันที่ 17 พ.ค.ตามเวลาท้องถิ่นของอเมริกา  ผู้สื่อข่าวเดลินิวส์ (@Travel_DN) รายงานสดผ่านทวิตเตอร์จากการแข่งขันรอบตัดสินในรายการ Intel International Science and Engineering Fair 2013 ที่ฟีนิกซ์  ประเทศสหรัฐอเมริกา จัดโดยบริษัท อินเทล ซึ่งมีตัวแทนจากนานาประเทศในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเข้าร่วมการแข่งขันกว่า 600 โครงงาน จาก 17 ประเภทการแข่งขัน ซึ่งการแข่งขันเวทีนี้มีนักเรียนไทย 5 ทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน – ( 63 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

นักวิจัยสตรีไทยกวาดรางวัลนานาชาติกีวี

ศ.นพ.สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ เลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ(วช.)แถลงว่าได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ.เชียงใหม่และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จ.ปทุมธานี นำผลงานนวัตกรรมของนักวิจัยสตรีเข้าร่วมประกวดงานแสดงสิ่งประดิษฐ์ของสตรีนานาชาติ ประเทศเกาหลี ประจำปี 2556 ( Korea International Women’s Invention Exposition 2013 หรือ KIWIE2013) ซึ่งมีผลงาน 300 รายการจาก112 หน่วยงาน 25 ประเทศเข้าร่วม โดยนักวิจัยสตรีไทย ได้รับรางวัล 8 ผลงาน – ( 160 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

วิลเลียม เจมส์ (William James)

วิลเลียม เจมส์ เกิดเมื่อวันที่ 11 มกราคม 1842 ที่เมืองนิวยอร์คซิตี้ และเสียชีวิตลงเมื่อ วันที่ 26 สิงหาคม 1910 เป็นนักจิตวิทยา และนักปรัชญา ชาวอเมริกา บุคคลแรกที่นำวิชาจิตวิทยาเข้าสู่ระบบการศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกา และเป็นผู้เขียนตำราจิตวิทยาชื่อก้องโลกอย่าง Principles of Psychology ที่ส่งผลให้เขากลายเป็นนักปราชญ์ผู้ทรงอิทธิพลแห่งยุค โดยเน้นไปที่หลักปฏิบัตินิยม (Pragmatism) แหล่งที่มา : น้องโนเนะ. (2556). วาทะนักวิทย์ : วิลเลียม เจมส์. Update, 28(307), 105.– ( 2236 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

เพลงในห้างหรือร้านกาแฟอาจจะทำให้ไวรัสในมือถือคุณทำงานได้

Published on June 18, 2013 by in S&T Stories

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอข่าววิทย์เรื่อง เพลงในห้างหรือร้านกาแฟอาจจะทำให้ไวรัสในมือถือคุณทำงานได้ จำเพลงที่คุยได้ยินมาเป็นร้อยเป็นพันครั้งเวลากำลังเข้าแถวต่อคิวในสตาร์บัคส์เพื่อกาแฟแก้วโปรดของคุณได้ไหม ดูเหมือนว่ามันจะทำให้ไวรัสบนมือถือของคุณเริ่มต้นทำงานได้ก็เป็นได้ นักวิจัยจาก University of Alabama Birmingham ได้ค้นพบวิธีที่ไม่เป็นที่เตะตาสำหรับกลุ่มแฮกเกอร์ที่สามารถเจาะเข้าไปยังไวรัสในอุปกรณ์มือถือได้ด้วยการใช้แค่เพลง เสียง หรือการสั่นสะเทือนเพียงเท่านั้น ด้วยความร่วมมือกันระหว่างแลป SECuRe and Trustworthy (SECRET) และ Security and Privacy in Emerging computing and networking Systems (SPIES) ของทางมหาวิทยาลัยทีมนักวิทยาศาตร์กลุ่มหนึ่งสามารถที่จะสั่งให้ไวรัสที่ซ่อนอยู่ในอุปกรณ์มือถือที่อยู่ห่างไป 17 เมตร ในกลุ่มคนหนาแน่นให้เริ่มต้นทำงานด้วยแค่เสียงเพลงเท่านั้น รายละเอียดเพิ่มเติมเข้าถึงได้ที่ http://vcharkarn.com/vnews/446962– ( 36 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

การออกกำลังกายมีค่าเท่ากับการทานชีสเบอเกอร์จริงหรือ

Published on June 18, 2013 by in S&T Stories

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอข่าววิทย์เรื่อง การออกกำลังกายมีค่าเท่ากับการทานชีสเบอเกอร์จริงหรือ ในช่วงพักฤดูกาลวิ่งมาราธอนสองสามเดือนที่ผ่านมา มีงานวิจัยพบว่าการวิ่งทนอาจทำร้ายร่างกายมากกว่าที่คิด  เนื่องจากมีการพบความสัมพันธ์ด้านสุขภาพบางอย่างที่คาบเกี่ยวกัน ระหว่างผู้ที่วิ่งทนและผู้ที่ทานชีสเบอเกอร์เป็นประจำ “ผมไม่กังวลหรอกครับ” หนึ่งในคำบอกเล่าจากปากทหารผ่านศึก ซึ่งผันตัวเองมาเป็นโค้ชนักกีฬามาราธอน มาร์ก ซัลลิแวน ผู้ที่ผ่านสนามการวิ่งมาราธอนมากกว่า 150 สนาม “มีผู้คนมากมายที่อยู่เพื่อสูบบุหรี่มากกว่าร้อยมวน และกินชีสเบอเกอร์ทุกวัน” นักกีฬาทรหดชอบที่จะสร้างภาพลักษณ์เหมือนคนเหล็ก แต่ก็เป็นที่น่าสังเกตว่ามีหลักฐานเกี่ยวกับการออกกำลังกายมากเกินไปมีผลเสียต่อร่างกายมากกว่าจะเกิดผลดี ซึ่งทำให้ภาพคนเหล็กของนักกีฬาทรหดเริ่มเลือนลางไป การวิ่งทรหดเป็นเวลานานกว่า 6 ปีก่อให้เกิดปัญหาจริงหรือไม่ ทั้งนี้มีงานวิจัยก่อนหน้าที่กล่าวว่า การวิ่งเกินกว่า 30 ไมล์ต่อสัปดาห์ไม่ก่อให้เกิดผลดีต่อร่างกายอย่างแน่นอน รายละเอียดเพิ่มเติมเข้าถึงได้ที่ http://vcharkarn.com/vnews/446947– ( 39 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

วิเคราะห์ BMI จากรูปถ่าย

Published on June 18, 2013 by in S&T Stories

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอข่าววิทย์เรื่อง วิเคราะห์ BMI จากรูปถ่าย ใบหน้าสามารถบ่งบอกสิ่งต่างๆ ได้มากมาย และมีงานวิจัยใหม่ได้พบว่า ใบหน้าทำนายค่า BMI โดยใช้โปรแกรมในการทำนายค่า BMI โดยใช้รูปถ่ายใบหน้า แล้วทำนายค่า BMI ออกมา แล้วอาจทำนายความเสี่ยงของโรคที่อาจจะเป็นอีกด้วย Body Mass Index (BMI) ค่าดัชนีมวลกาย เป็นการประเมินภาวะอ้วนและผอมในผู้ใหญ่ตั้งแต่อายุ 20 ปีขึ้นไป สามารถทำได้โดยการชั่งน้ำหนักตัวเป็นกิโลกรัม และวัดส่วนสูงเป็นเซนติเมตร แล้วนำมาหาดัชมีมวลกาย รายละเอียดเพิ่มเติมเข้าถึงได้ที่ http://vcharkarn.com/vnews/446993– ( 36 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

นักวิทย์เชื่อสิ่งมีชีวิตเริ่มต้นจากนอกโลก

Published on June 18, 2013 by in S&T Stories

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอข่าววิทย์เรื่อง นักวิทย์เชื่อสิ่งมีชีวิตเริ่มต้นจากนอกโลก โลกในยุคแรกไม่เหมาะกับการดำรงอยู่ของสิ่งมีชีวิตมากเท่าไหร่ และล่าสุด นักวิทยาศาสตร์ได้เสนอว่า สิ่งมีชีวิตบนโลกมาจากนอกโลก   เนียร์ โกลด์แมน นักวิทยาศาสตร์จากลอว์เรนซ์ ลิเวอร์มอร์ และไอแซค แทมบลีน นักวิทยาศาสตร์จากสถาบันเทคโนโลยีออนทารีโอ ค้นพบว่า ดาวหางน้ำแข็งที่พุ่งชนโลกเมื่อหลายล้านปีก่อนอาจจะมีสารประกอบอินทรีย์ที่จะประกอบไปเป็นสิ่งมีชีวิตติดมาด้วย ไม่ว่าจะเป็นโปรตีน คู่นิวคลีโอเบสของดีเอ็นเอและอาร์เอ็นเอ ดาวหาง มีโมเลกุลพื้นฐานอย่างน้ำ แอมโมเนีย เมธานอล และคาร์บอนไดออกไซด์ และมีพื้นผิวที่เสริมสร้างพลังงานมหาศาลให้ไปขับเคลื่อนปฏิกิริยาเคมีต่างๆ รายละเอียดเพิ่มเติมเข้าถึงได้ที่ http://vcharkarn.com/vnews/447013– ( 45 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

เอ็ดเวิร์ด เทลเลอร์ (Edward Teller)

เป็นนักฟิสิกส์ ทฤษฎี ชาวฮังการี-อเมริกัน ผู้ได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งระเบิดไฮโดรเจน ซึ่งมีพลานุภาพร้ายแรงกว่าระเบิดปรมาณูหลายเท่า ด้วยการเข้าร่วมพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ในโครงการแมนอัตดัน ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง นอกจากนี้ยังสร้างผลงานด้านนิวเคลียร์และฟิสิกส์โมเลกุล ไว้อีกจำนวนมาก แหล่งที่มา : น้องโนเนะ. (2556). วาทะนักวิทย์ : เอ็ดเวิร์ด เทลเลอร์. Update, 28(306), 105.– ( 120 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud)

ซิกมันด์ ฟรอยด์ เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1856 เป็นนักประสาทวิทยา นักจิตบำบัด และนักจิตวิเคราะห์ ชาวออสเตรีย ผู้ริเริ่มการศึกษาด้านจิตวิทยา และได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งจิตวิเคราะห์ โดยทฤษฎีของซิกมันด์ ฟรอยด์ใช้ไขความลับภายใต้จิตใจของมนุษย์ ซึ่งเอื้อประโยชน์ต่อการบำบัดรักษาผู้ที่มีปัญหาด้านจิตใจ ซิกมันด์ ฟรอยด์ ได้แบ่งกระบวนการคิดออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 1. Secondary Process เป็นกระบวนการคิดที่ยึดเหตุผลมองสิ่งต่าง ๆ ตามความเป็นจริง 2. Primary Process เป็นกระบวนการคิดแบบเด็ก ๆ ไม่เป็นเหตุไม่เป็นผล ไม่สนใจ เรื่องเวลาหรือสถานที่ สิ่งที่ต้องการ คือ ความสุข ความสมหวัง ซึ่งต้องการได้รับการตอบสนองทันที จึงจะพอใจโดยไม่คำนึงว่าผลตามมาจะเป็นอย่างไร แหล่งที่มา : น้องโนเนะ. (2556). วาทะนักวิทย์ : ซิกมันด์ ฟรอยด์. Update, 28(304), 105.– ( 138

Read More…

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments