magnify
magnify

Open Knowledge for all 

formats

เทคโนโลยีลดปุ๋ยเคมี

สำนักข่าวไทยนำเสนอข่าวสารคดีโลก
ออสเตรเลีย 25 เม.ย. 2013 – คณะนักวิจัยออสเตรเลียพัฒนาเทคโนโลยีการให้ปุ๋ย ที่จะช่วยลดการใช้ปุ๋ยเคมี ซึ่งเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม เป็นวิธีใด ติดตามจากสารคดีโลก

ชมรายละเอียดภาพข่าวได้ที่เว็บไซต์สำนักข่าวไทย อสมท. -
http://www.mcot.net/site/content?id=5178cfa0150ba0981d00039b#.UXj2p8phsa8– ( 52 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

โทรศัพท์มือถือปลอดภัย

สำนักข่าวไทยนำเสนอข่าวสารคดีโลก
อินเดีย 24 เม.ย. 2013 – สารคดีโลกพาไปดูความพยายามของอินเดียที่เดินหน้าหาวิธีการป้องกันพิษภัยจากการใช้โทรศัพท์มือถือโดยเฉพาะอย่างยิ่งในหมู่เด็กๆ และเยาวชน
ปัจจุบันอินเดีย มีการใช้โทรศัพท์มือถือมากกว่า 700 ล้านคน เพิ่มขึ้นจากเดิมที่มีเพียง 37 ล้านคน ในปี 2544  แม้แต่เด็กนักเรียนชั้นประถมก็มีใช้ สิ่งที่ผู้ปกครองหนักใจคือ การเข้าใช้อินเทอร์เน็ต ที่มีภาพลามก อนาจาร มากมาย มีการหาวิธีแก้ไข โดยบริษัทผู้ผลิตมือถือรายหนึ่ง ได้ผลิต โทรศัพท์มือถือปลอดภัย ในชื่อ safecomm  ป้องกันเยาวชนเข้าใช้อินเทอร์เน็ต เป็นมือถือที่ไม่มีหน้าจอ ไม่มีกล้องถ่ายรูป ไม่มีการแชท มีเพียงการกำหนดหมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉินให้ใช้ติดต่อ  3 หมายเลข

ชมภาพข่าวได้ที่เว็บไซต์สำนักข่าวไทย อสมท.
- http://www.mcot.net/site/content?id=51777a4a150ba03546000219#.UXeBS8phsa8– ( 71 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

วิรัตน์ อาชาอภิสิทธิ์ ประเด็นร้อน มอก.’สุขภัณฑ์-กระเบื้อง”…แนะนำให้รีบขอฉลากแต่เนิ่น ๆ’

กลายเป็นประเด็นฮอตของวงการสุขภัณฑ์และกระเบื้องเซรามิก เมื่อ “สมอ.-สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม” เตรียมออกฉลากมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมภาคบังคับ (มอก.ภาคบังคับ) กับวัสดุ 2 ตัว คือ “ส้วมนั่งราบ” (สุขภัณฑ์แบบฟลัช-ชักโครก) และ “กระเบื้องเซรามิก”

นำมาสู่การที่ผู้นำเข้าสุขภัณฑ์กระเบื้องเซรามิกยักษ์ใหญ่รายหนึ่งได้ออกมา ตั้งสมมติฐานว่า การออก มอก.ภาคบังคับครั้งนี้อาจเป็นการกีดกันสินค้านำเข้า โดยเฉพาะสุขภัณฑ์แบบฟลัชจากจีนที่มีตั้งแต่ราคาชิ้นละกว่า 1 พันบาท ถูกกว่าสินค้าผลิตในประเทศมีราคาเริ่มต้นที่ชิ้นละประมาณ 5 พันบาท Read more…– ( 835 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

สถาปนิกอาเซียน

สภาสถาปนิก  ในฐานะผู้แทนประเทศไทยในการเข้าร่วมประชุมสภาสถาปนิกแห่งอาเซียน ได้รวบรวมข้อมูลในส่วนของประเทศไทยที่มีการผูกพันการเปิดตลาดการค้าบริการวิชาชีพสถาปัตยกรรม และตลาดวิชาชีพผังเมืองและภูมิสถาปัตยกรรมภายใต้กรอบ AFAS (ASEAN Framework Agreement on Service) หรือ กรอบความตกลงว่าด้วยบริการของอาเซียน ซึ่งมีการกำหนดให้เปิดตลาดการค้าบริการให้เป็นตลาดการค้าบริการที่เสรีและเป็นตลาดเดียวภายในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) และยอมรับร่วมกันของอาเซียนด้านการบริการสถาปัตยกรรม (ASEAN Mutual Recognition Arrangement on Architectural Services: MRAs) เพื่อรับรองมาตรฐานการศึกษา ประสบการณ์การทำงานวิชาชีพสถาปัตยกรรม ในการออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพให้กับผู้ประกอบวิชาชีพที่เป็นสมาชิกอาเซียน ซึ่งเป็นมาตรฐานเพื่อให้สถาปนิกในกลุ่มประเทศสมาชิกสามารถเคลื่อนย้ายเข้าไปทำงานในกลุ่มประเทศอาเซียนได้

ทั้งนี้ ติดตามข้อมูลรายละเอียดของสภาสถาปนิกแห่งอาเซียน (ASEAN Architect Council – AAC) ได้ที่ http://www.aseanarchitectcouncil.org/about.html  และติดตามข้อมูลของสภาสถาปนิก ที่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการเปิดตลาดการค้าบริการวิชาชีพสถาปัตยกรรม และตลาดวิชาชีพผังเมืองและภูมิสถาปัตยกรรม ได้ที่ http://www.act.or.th/th/asean_architect/– ( 133 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

สมาคมประกันสังคมอาเซียน (ASEAN Social Security Association – ASSA)

จัดตั้งขึ้นเพื่อพัฒนางานประกันสังคม และแลกเปลี่ยนข้อมูลวิชาการและประสบการณ์ระหว่างกลุ่มประเทศสมาชิก เพื่อการรวมตัวกันจะส่งผลให้มีสิทธิและเสียงในสมาคมประกันภัยระหว่างประเทศมากขึ้น มีการจัดทำเว็บไซต์ ASSA ที่ http://www.asean-ssa.org/

ประเทศไทยมีหน่วยงานที่เป็นสมาชิก คือ

  • สำนักงานประกันสังคม (www.sso.go.th)
  • กรมบัญชีกลาง (www.cgd.go.th)
  • กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (www.gpf.or.th)
  • สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (www.nhso.go.th)

– ( 187 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

สมัชชารัฐสภาอาเซียน (ASEAN Inter-Parliamentary Assembly – AIPA)

เดิมชื่อว่า องค์การรัฐสภาพอาเซียน (ASEAN Inter-Parliamentary Organization – AIPO) ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2520 เพื่อสร้างความร่วมมือของรัฐสภาแห่งชาติในอาเซียนให้ใกล้ชิดมากยิ่งขึ้น และเมื่อการประชุมสมัชชาใหญ่องค์การรัฐสภาอาเซียนครั้งที่ 27 ณ เมืองเซบู สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ มีการเปลี่ยนชื่อจากองค์การรัฐสภาอาเซียน (ASEAN Inter-Parliamentary Organization – AIPO) มาเป็นสมัชชารัฐสภาอาเซียน (ASEAN Inter-Parliamentary Assembly – AIPA) เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้แก่องค์กร และบูรณาการการทำงานของฝ่ายนิติบัญญัติให้มีรูปธรรม ตลอดจนยกระดับความร่วมมือระหว่างรัฐสภาในประเทศสมาชิกอาเซียนให้ใกล้ชิดยิ่งขึ้นปรับปรุงโครงสร้างการทำงานขององค์กร เพิ่มช่องทางการทำงานร่วมกันกับ ASEAN โดยการแลกเปลี่ยนการเข้าร่วมประชุมระหว่างประธาน AIPA และประธานคณะกรรมการประจำอาเซียน และให้อำนาจกับที่ประชุมสมัชชาใหญ่ในการริเริ่มการจัดทำกฎหมายในประเด็นที่ประเทศสมาชิกให้ความสนใจร่วมกัน เพื่อบรรลุเป้าหมายการจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ติดตามความกิจกรรมความเคลื่อนไหวได้ที่ http://www.aipasecretariat.org/

และ http://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/ewt_w3c/ewt_news.php?nid=14330&filename=
– ( 153 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ศูนย์สารสนเทศอาเซียน มรภ. มหาสารคาม

ศูนย์สารสนเทศอาเซียน สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม (ASEAN Information Center, Rajabhat Mahasarakham University) ให้บริการสารสนเทศอาเซียน เพื่อให้ความรู้ และเป็นแหล่งศึกษาดูงานสำหรับโรงเรียน สถานศึกษา ซึ่งสามารถนำไปเป็นต้นแบบในกรจัดทำศูนย์อาเซียนศึกษาได้ ภายในศูนย์ฯ ประกอบด้วยเอกสารข้อมูล นิทรรศการ และสื่อต่างๆ เกี่ยวกับอาเซียน รวมทั้งได้จัดทำเว็บไซต์เพื่อเชื่อมโยงไปยังแหล่งสารสนเทศอาเซียนอื่นๆ และที่ทางศูนย์ฯ พัฒนาขึ้นเอง สามารถเข้าถึงสารสนเทศและกิจกรรมของศูนย์ฯ ได้ที่  http://arcm.rmu.ac.th/~asean/asean_web/home.php

– ( 155 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ห้องสมุดดิจิตอลแห่งแรก

สหรัฐเปิดห้องสมุดสาธารณะออนไลน์แห่งแรกเพื่อเผยแพร่วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์อเมริกันให้แก่ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตทั่วโลก โดยมีข้อมูลให้ค้นคว้ากว่า 2 ล้านรายการทั้งภาพถ่าย หนังสือ จดหมายเหตุ และข้อมูลรูปแบบ อื่นๆ โดยผลงานเด่นๆ ได้แก่ จดหมายของจอร์จ วอชิงตัน ประธานาธิบดีคนแรกของสหรัฐ คำประกาศอิสรภาพที่เขียนด้วยลายมือฉบับก๊อบปี้ของโธมัส เจฟเฟอร์สัน

Read more…– ( 126 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

กระทรวงวิทย์เปิดแล็บ ทดสอบวัคซีนไข้เลือดออก

กระทรวงวิทย์เตรียมจัดตั้งห้องปฏิบัติการทดสอบวัคซีนไข้เลือดออก รองรับการพัฒนาวัคซีน

นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กล่าวว่า ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (TCELS) กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ

ได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหิดล จัดตั้งห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์วัคซีนป้องกันโรคไข้เลือดออกขึ้น เพื่อรองรับการพัฒนาวัคซีนป้องกันโรคไข้เลือดออกของประเทศไทย ซึ่งมีการบูรณาการงานวิจัยและพัฒนาจากหลายหน่วยงาน อาทิ สถาบันวัคซีนแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดวาระแห่งชาติด้านวัคซีน มหา วิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีได้พัฒนาโรงงานผลิตระดับกึ่งอุตสาหกรรม และ TCELS กับมหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกันจัดตั้งห้องปฏิบัติการฯ Read more…

– ( 38 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

เมืองหนังสือโลก

จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติในปี 2554 คนไทยอ่านหนังสือนอกเวลาเรียน หรือเวลาทำงาน โดยเฉลี่ย 35 นาทีต่อวัน และมีแนวโน้มที่จะลดลง

นับเป็นหนึ่งในประเทศที่มีอัตราการอ่านหนังสือต่ำ หลายคนก็คงคุ้นชินกับสถิติทำนองนี้อยู่แล้ว จนมั่นใจได้ว่าการอ่านหนังสือไม่น่าจะเป็นวัฒนธรรมของคนไทยโดยทั่วไป จึงเป็นเรื่องที่น่าดีใจที่ในปีนี้ที่ กรุงเทพฯ ได้รับคัดเลือกให้เป็นเมืองหนังสือโลก ซึ่งจะทำให้เราได้มีโอกาสรณรงค์ส่งเสริมการอ่านหนังสือกันอย่างจริงจัง ก่อนที่ปีหน้าเมืองหนังสือโลกจะย้ายไปอยู่ที่ประเทศไนจีเรีย ซึ่งเป็นอีกหนึ่งประเทศที่มีอัตราการอ่านหนังสือและการรู้หนังสือต่ำมาก Read more…– ( 76 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments