หน้าแรก คลังความรู้ คลังความรู้ นานาสาระน่ารู้ แนวคิดที่ผิดเกี่ยวกับ OER (Open Educational Resources)
แนวคิดที่ผิดเกี่ยวกับ OER (Open Educational Resources)
28 ก.พ. 2561
0
นานาสาระน่ารู้

แนวคิดทั้งหมดดังข้างล่างนี้เป็นแนวคิดที่ผิดเกี่ยวกับ OER 7 อันดับแรกที่ได้จากการลงคะแนนจากมากกว่า 100 คณะ บรรณารักษ์ นักศึกษา และสมาชิกคนอื่นๆ ในการศึกษาระดับอุดมศึกษาของอเมริกาเหนือ ทีมอาสาสมัครได้พัฒนาการสำรวจความคิดเห็นและลงในรายการ email และโซเชียลมีเดียเป็นเวลา 2 สัปดาห์ในเดือนกรกฎาคม 2017

แนวคิดที่ 1: เปิด (open) อย่างง่ายหมายถึงฟรี
ความจริง: เปิด หมายถึงการอนุญาตให้ดาวน์โหลด ดัดแปลง และแบ่งปันวัสดุฟรี

แนวคิดที่ 2: OER ทั้งหมดเป็นดิจิทัล
ความจริง: OER มีหลายรูปแบบ อาจเป็นแบบพิมพ์ ดิจิทัล เสียง และอื่นๆ

แนวคิดที่ 3: จ่ายเพื่ออะไรได้อย่างงั้น
ความจริง: OER สามารถถูกผลิตให้ได้มาตรฐานคุณภาพเดียวกับตำราเรียนดั้งเดิม

แนวคิดที่ 4: ลิขสิทธิ์สำหรับ OER ยุ่งยาก
ความจริง: การอนุญาตแบบเปิด (open licensing) ทำให้ OER ง่ายในการใช้ตำราเรียนอย่างฟรีและถูกต้อง

แนวคิดที่ 5: OER ไม่ยั่งยืน
ความจริง: หลายต้นแบบกำลังค่อยๆ พัฒนาเพื่อสนับสนุนความยั่งยืนและการพัฒนาอย่างต่อเนื่องของ OER

แนวคิดที่ 6: ตำราเรียนแบบเปิด (open textbooks) ขาดสิ่งเสริม
ความจริง: ตำราเรียนแบบเปิดบ่อยๆ มีสิ่งเสริม และเมื่อไม่มี OER ที่มีอยู่สามารถให้การสนับสนุนเพิ่ม

แนวคิดที่ 7: สถาบันไม่พร้อมสำหรับ OER
ความจริง: สถาบันสามารถเริ่ม OER เพียงเล็กน้อย

ที่มา: SPARC (2017, October 25). OER Mythbusting. Retrieved February 19, 2018,from https://sparcopen.org/wp-content/uploads/2017/10/OER_Mythbusting_2017.pdf

28 ก.พ. 2561
0
แชร์หน้านี้: