หน้าแรก คลังความรู้ คลังความรู้ BCG BCG Economy Model
BCG Economy Model
11 ก.พ. 2564
0
BCG

BCG Model เป็นการพัฒนาเศรษฐกิจแบบองค์รวม ที่จะพัฒนาเศรษฐกิจ 3 มิติไปพร้อมกัน ได้แก่ เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) ระบบเศรษฐกิจชีวภาพ มุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรชีวภาพเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม โดยเน้นการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์มูลค่าสูง เชื่อมโยงกับ เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) คำนึงถึงการนำวัสดุต่าง ๆ กลับมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด และทั้ง 2 เศรษฐกิจนี้ อยู่ภายใต้เศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) ซึ่งเป็นการพัฒนาเศรษฐกิจที่ไม่ได้มุ่งเน้นเพียงการพัฒนาเศรษฐกิจเท่านั้น แต่ต้องพัฒนาควบคู่ไปกับการพัฒนาสังคมและการรักษาสิ่งแวดล้อมได้อย่างสมดุลให้เกิดความมั่นคงและยั่งยืนไปพร้อมกัน

ข่าว BCG
สุดคูล ! รีไซเคิลกระเบื้องตกเกรดเป็น ‘อิฐบล็อกช่องลม’ เพิ่มมูลค่าวัสดุเหลือทิ้งจากโรงงานเซรามิก

สุดคูล ! รีไซเคิลกระเบื้องตกเกรดเป็น ‘อิฐบล็อกช่องลม’ เพิ่มมูลค่าวัสดุเหลือทิ้งจากโรงงานเซรามิก

  ‘สินค้ามีตำหนิ สินค้าตกเกรด’ เป็นหนึ่งในปัญหาสำคัญที่อุตสาหกรรมกระเบื้องและเซรามิกต้องเผชิญ เพราะนอกจากไม่สามารถจำหน่ายได้แล้ว

อ่านเพิ่มเติม
สวทช. พัฒนาฉลากอัจฉริยะระบุระดับความสุกมะม่วงน้ำดอกไม้สีทอง มุ่งสร้างมูลค่าเพิ่ม ลดขยะอาหาร

สวทช. พัฒนาฉลากอัจฉริยะระบุระดับความสุกมะม่วงน้ำดอกไม้สีทอง มุ่งสร้างมูลค่าเพิ่ม ลดขยะอาหาร

  หนึ่งในผลไม้จากประเทศไทยที่ได้รับความนิยมจากชาวต่างชาติสูงจนขึ้นแท่นเป็นพืชเศรษฐกิจ คือ ‘มะม่วงน้ำดอกไม้สีทอง’ ที่มีจุดเด่น

อ่านเพิ่มเติม
‘แผ่นเจลรองนั่งจากยางพารา’ ยืดหยุ่นสูง เย็นสบาย ไร้กลิ่นสารเคมี ไร้สารก่อมะเร็ง

‘แผ่นเจลรองนั่งจากยางพารา’ ยืดหยุ่นสูง เย็นสบาย ไร้กลิ่นสารเคมี ไร้สารก่อมะเร็ง

  ประเทศไทยเป็นประเทศที่ผลิตและส่งออกยางพารามากเป็นอันดับหนึ่งของโลก แต่เม็ดเงินที่ไหลกลับเข้าประเทศกลับไม่มากนัก สาเหตุสำคัญมาจากสินค้าส่งออกส่วนใหญ่ยังคงเป็นวัตถุดิบในขั้นปฐมภูมิ อาทิ

อ่านเพิ่มเติม
คลังข้อมูล BCG

National AI Ecosystem

การสร้างและพัฒนาระบบนิเวศปัญญาประดิษฐ์ (AI Ecosystem) และเชื่อมโยงแบบบูรณาการ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ที่มีประสิทธิภาพ

อ่านเพิ่มเติม

นวัตกรรมชุดตรวจคัดกรอง ติดตามโรคไตเรื้อรัง และภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน

เพื่อพัฒนาชุดตรวจคัดกรองและติดตามภาวะไตเสื่อมในผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไตเรื้อรัง ที่ขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์เครื่องมือแพทย์กับ อย. และผลักดันเข้าสู่ระบบสาธารณสุขของไทย เพื่อนำไปสู่การเพิ่มโอกาสการตรวจคัดกรองภาวะไตเสื่อมระยะต้นให้กับประชาชน

อ่านเพิ่มเติม

แพลตฟอร์มบริการการแพทย์ดิจิทัล Digital Healthcare Platform

พัฒนาการบริการการแพทย์ปฐมภูมิ รวมถึงการส่งต่อไปสู่การแพทย์ทุติยภูมิ/ตติยภูมิ แก้ไขปัญหาของประชาชนในเรื่องความแออัดของหน่วยบริการสาธารณสุข และอุปสรรคในการเข้าถึงหน่วยบริการ แก้ไขปัญหาหน่วยบริการสาธารณสุขที่มีภารกิจมากและหลากหลายเกินจำนวนบุคลากรที่จะรองรับได้

อ่านเพิ่มเติม

การยกระดับอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืนด้วยอุตสาหกรรม 4.0 และอุตสาหกรรมสีเขียว

 ยกระดับอุตสาหกรรมไทยสู่อุตสาหกรรม 4.0 ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ลดการใช้ทรัพยากร

อ่านเพิ่มเติม
แหล่งข่าวอื่นๆ
11 ก.พ. 2564
0
แชร์หน้านี้: