เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอบทความเรื่อง รักษาโรคมะเร็งด้วยการฟื้ันฟูระบบภูมิคุ้มกัน “การไม่มีโรค เป็นลาภอันประเสริฐ” เป็นประโยคยอดฮิต ที่ไม่ว่าใครๆ ก็คงจะเห็นด้วย แต่สำหรับงานวิจัยนี้ อาจต้องเปลี่ยนแปลงนิดหน่อยเป็น “การมีระบบภูมิคุ้มกันที่ดี เป็นลาภอันประเสริฐ” – ( 47 Views)
มหัศจรรย์แห่งน้ำ มหัศจรรย์แห่งชีวิต
เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอบทความเรื่อง มหัศจรรย์แห่งน้ำ มหัศจรรย์แห่งชีวิต ในทางวิทยาศาสตร์ น้ำอาจเป็นเพียงสารประกอบเคมีชนิดหนึ่ง แต่ในธรรมชาติ น้ำคือบ่อเกิดของวิถีและชีวิต น้ำคือปัจจัยสำคัญ ที่สร้างความอุดมสมบูรณ์ให้แก่โลก ที่ใดมีน้ำ ที่นั่นดินดี ดินดีทำให้ป่าดี พืชพันธุ์ธัญญาหารเติบโตอุดมสมบูรณ์ กลายเป็นแหล่งอาหารให้แก่สัตว์และมนุษย์ – ( 65 Views)
กรน ใครคิดว่าไม่สำคัญ
เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอบทความเรื่อง กรน…ใครคิดว่าไม่สำคัญ เสียงยามค่ำคืน ไม่เพียงแต่จะสร้างความรำคาญให้กับคนข้างเคียง มันยังเป็นสัญญาณบอกถึงอันตรายที่คืบคลานเข้ามาใกล้ตัวอีกด้วย อัมพาต ความดันโลหิตสูง อารมณ์ไม่ดี จำอะไรไม่ค่อยได้ และเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ และอาจทวีความดังขึ้นได้มากกว่าปกติ หากร่างกายเพลียมาหรือดื่มเหล้า จะทำให้เกิดการหลับลึก เกิดการกรนได้มากขึ้น – ( 42 Views)
โลกเปลี่ยนได้ ด้วยใจเรา
เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอบทความเรื่อง โลกเปลี่ยนได้ ด้วยใจเรา “ปัญหาโลกร้อน เราต้องหยุดที่ตัวเราทำ” ศาสตราจารย์ระพี สาคริก ปราชญ์ด้านการเกษตรได้ให้แง่คิดถึงความสำคัญของโลกร้อนที่นับวันจะกลายเป็นปัญหาใหญ่ของโลก – ( 36 Views)
พลังงานมีวันหมด ใช้อย่างไรให้ยั่งยืน
เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอบทความเรื่อง พลังงานมีวันหมด ใช้อย่างไร ให้ยั่งยืน คุณเคยคิดไหมว่าถ้าสักวันหนึ่งเราเปิดไฟไม่ติด น้ำไม่ไหล ไม่มีน้ำมันเติมรถ ไม่มีก๊าซหุงต้ม อากาศร้อนสุดๆ มีแอร์แต่ไม่มีไฟ แล้วเราจะอยู่กันได้อย่างไร – ( 44 Views)
Thailand-U.S. Cooperation: From R&D to Commercialization
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (โดยสำนักงานที่ปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน และสำนักงานความร่วมมือระหว่างประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี) ร่วมกับ สมาคมนักวิชาชีพไทยในอเมริกาและแคนาดา (ATPAC) จัดการประชุมประจำปีสมาคม ATPAC ปี 2556 ในหัวข้อ Thailand-U.S. Cooperation: From R&D to Commercialization ระหว่าง วันที่ 29-30 สิงหาคม 2556 ณ โรงแรมสุโกศล กรุงเทพฯ – ( 39 Views)
นาฬิกาชีวภาพของผักยังหมุนหลังการเก็บเกี่ยว
นักวิจัยได้รายงานในนิตยสาร Current Biology ฉบับวันที่ 20 มิถุนายน 2013 ว่า กระหล่ำปลีที่ถูกเก็บผิดเวลาหรือ jet lag อาจมี คุณค่าทางอาหารน้อยกว่าและมีความต้านทานต่อศัตรูพืชน้อยกว่า เนื่องจากผักผลไม้จะมีนาฬิกาภายในตัวเองที่สามารถตั้งวงจรชีวิต ตามแสงสว่างและความมืด ซึ่งการเก็บพิชผักผลไม้ไว้ในตู้เย็นมืดๆ สามารถขัดขวางการเดินของวงจรธรรมชาติดังกล่าว – ( 77 Views)
ดาวเคราะห์อาจมีวงจรรอบดาวพลูโตสองเท่า
ช่องว่างที่ลึกลับในฝุ่นที่ปกคลุมรอบๆ ซากขยะในวงโคจรของดวงดาว อาจเป็นสัญลักษณะว่ามีดาวเคราะห์ใหม่ที่กำลังโคจรรอบดวงอาทิตย์ของมัน ด้วยระยะทางเป็นสองเท่าของวิถีโคจรของดาวพลูโต ถ้าดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ไม่ปรากฏขึ้น การกำเนิดของมันอาจเป็นการยากสำหรับนักดาราศาสตร์ที่จะอธิบายได้ ในเรื่องนี้ Katherine Kretke นักดาราศาสตร์ ที่ Southwest Research Institute ใน Boulder, Colo กล่าวว่า หากเป็นดาวเคราะห์จริง ก็เป็นข้อท้าทายสำหรับการพัฒนาข้อมูลทฤษฏีดาวเคราะห์ในปัจจุบัน – ( 96 Views)
การปลูกถ่ายกระโหลกศรีษะด้วย 3D printing
ต่อไปนี้ การปลูกถ่ายชิ้นส่วนของกระโหลกศรีษะไม่ใช่เรื่องล้ำสมัยต่อไปแล้ว ล่าสุดมีชายคนหนึ่งเพิ่งได้รับ การปลูกถ่ายกระโหลกศรีษะโดยการสั่งจากเครื่องพิมพ์ระบบ 3D โดยการปฏิบัติการของ OPM (Oxford Performance Materials) สามารถแทนที่กระโหลกเดิมของผู้ป่วยได้ถึงร้อยละ 75 และมีการทดลองผ่าตัดในสหรัฐฯ เมื่อเดือนมีนาคมที่ผ่านมา — ( 84 Views)