magnify
magnify

Open Knowledge for all 

Home Articles posted by satapon (Page 4)
formats

สายการบิน WestJet กับสุดยอดแคมเปญโดนใจ

สายการบิน WestJet กับสุดยอดแคมเปญโดนใจ นอกจากจะสร้างความสุขให้กับผู้โดยสารแล้ว ยังช่วยสร้างภาพลักษณ์ให้กับสายการบินได้เจ๋งมากๆ ครับ ไอเดียบรรเจิดด้วยการให้ผู้โดยสารขอของขวัญกับซานต้ารับช่วงเทศกาลคริสมาสต์– ( 22 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

92% ของเด็กวัย 2-13 ปี นิยมอ่าน ebooks ทุกวัน

– ( 31 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

สาระวิทย์ เดือน มกราคม 2557 (10)

นิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ “สาระวิทย์” ฉบับที่ 10, มกราคม 2557 เรื่องเด่น : ทึ่ง ซึ้ง รั่ว กับครอบครัวสัตว์โลก (ตอนที่ 2) ยาน “ฉางเอ๋อ-3” ของจีนลงจอดบนดวงจันทร์เป็นผลสำเร็จ ความเชื่อเกี่ยวกับต้นตะเคียนยักษ์ ไทยส่งสองนักวิจัยหญิงร่วมสำรวจขั้วโลกใต้กับจีน ชาวไทยรอลุ้น แพนด้าน้อยน้องหลินปิง – ( 10 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

สิทธิบัตรใหม่ Apple Touch ID อัจฉริยะ

Touch ID เป็นฟิเจอร์ล่าสุดของ iPhone5s ทำยอดขายทั้งในญี่ปุ่น และ อินเดียทะลุเป้าแซง samsung กันแบบทิ้งช่วง ตอนนี้ Apple จดสิทธิบัตรใหม่เพิ่มอีกแล้ว  – ( 34 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

Coco Easy มะพร้าวเผาติดฝา

การปฏิวัติรูปแบบการเฉาะมะพร้าวพร้อมเสิร์ฟให้กับผู้บริโภคทั่วโลก โดย บรรพต เคลียพวงพิทย์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท โคโค่ อีซี่ จำกัด ใช้เวลาประมาณ 5 ปีกว่าจะประสบความสำเร็จในการติดฝาห่วงแบบอีซี่โอเพ่นไว้บนลูกมะพร้าว โดยไม่ส่งผลกระทบต่อน้ำและเนื้อมะพร้าวที่อยู่ภายใน เพื่อความสะดวกในการบริโภคของตนเองและคนรอบข้าง  และตอนนี้ก็ดังไกลระดับโลกเลยทีเดียว “เทคนิคการเจาะมะพร้าวน้ำหอมเผา ให้กินง่าย กว่าจะสำเร็จต้องลงทุนกับเครื่องเลเซอร์ไปหลายแสนบาท ยังไม่นับรวมมะพร้าวอีกหลายร้อยลูกในการลองผิดลองถูก เพื่อให้ได้ระดับเลเซอร์กับรอยเปิดที่เหมาะสม โดยที่ตัวมะพร้าวไม่เกิดความเสียหายและเก็บไว้ได้นาน” – ( 556 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ปรากฎการณ์เปลี่ยนขั้วแม่เหล็กของดวงอาทิตย์

 ในทุกๆ 11 ปี จะเกิดปรากฎการณ์สำคัญกับดวงอาทิตย์ นั่นคือการสลับขั้วแม่เหล็ก ของดวงอาทิตย์ Todd Hoeksema นักฟิสิกส์สุริยะแห่ง Standford University ได้กล่าวว่าการสลับขั้วโดยสิ้นเชิงนี้จะเกิดขึ้นในอีก 3 – 4 เดือนข้างหน้า จะก่อให้เกิดผล กระทบสืบเนื่องต่อระบบสุริยะ นักดาราศาสตร์ได้จับตามองสถานะของขั้วแม่เหล็กในชั้นล่างสุดของชั้น บรรยากาศ ของดวงอาทิตย์อย่างใกล้ชิด โดยตรวจวัดความแรงและทิศทางของขั้วแม่เหล็ก Phil Scherrer นักฟิสิกส์สุริยะแห่ง Standford University อีกท่านได้กล่าวว่า ขั้วแม่เหล็กของ ดวงอาทิตย์มีความแรงลดลงจนเป็นศูนย์ และจะแรงขึ้นอีกครั้ง โดยครั้งนี้จะเป็นขั้วที่ต่างไป ซึ่งปรากฎการณ์นี้เป็นปรากฎการณ์ปกติของวัฒจักรของดวงอาทิตย์ Hoeksema และ Scherrer ทำงานให้กับศูนย์ Wilcox Solar Observatory ของ Standford University ซึ่งเป็นศูนย์เพียงไม่กี่แห่งบนโลกที่สามารถสำรวจพลังงานแม่เหล็ก ของดวงอาทิตย์ได้ สถาบันนี้ได้สำรวจขั้วแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2519 และได้พบการเปลี่ยนแปลงขั้วแม่เหล็กเช่นนี้มาแล้ว 3 ครั้ง และครั้งนี้เป็นครั้งที่ 4 – (

Read More…

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

นักวิจัย อพวช. ไปศึกษาวิจัยร่วมกับสถาบัน Smithsonian

สำนักงานที่ปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงวอชิงตัน ได้ประสานและอำนวย ความสะดวกแก่นักวิจัยจากพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในการเดินทางไปร่วมวิจัยและเก็บตัวอย่าง (specimen) สัตว์ในระหว่างวันที่ 9-29 มิถุนายน 2556 ณ สถาบัน Smithsonian  กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. นายธัญญา  จั่นอาจ              ดร.วีระ วิลาศรี                นายวัชระ สงวนสมบัติ สรุปการเดินทางไปร่วมวิจัย  ระหว่างวันที่ 9-29 มิถุนายน 2556 คณะนักวิชาการของ อพวช. ประกอบด้วย นายธัญญา จั่นอาจ ผู้อำนวยการกองวัสดุอุเทศธรรมชาติวิทยา ดร. วีระ วิลาศรี ผู้เชี่ยวชาญด้านปลา และนายวัชระ สงวนสมบัติ ผู้เชี่ยวชาญด้านนก กองวิชาการธรรมชาติวิทยา พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา องค์การพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ

Read More…

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

Canada’s Oil Sands

ที่มา: TheStreet.com July 2, 2013 http://www.thestreet.com/story/11969821/1/canadas-oil-sands-an-introduction.html ระยะเวลาหลาย ปีที่ผ่านมา มีการค้นพบแหล่งผลิต Oil Sand (แหล่งปิโตเลียมที่มีส่วนประกอบของทราย โคลน น้ำ และ Bitumen ที่มีความหนาแน่นและความหนืดสูง พบจำนวนมากในประเทศแคนาดา และประเทศ เวเนซูเอล่า) ซึ่งได้ช่วยพัฒนาประเทศแคนาดาทั้งทางด้านเศรษฐกิจและความมั่นคงด้านพลังงาน เนื่องจากเมื่อนำ Bitumen ไปผ่านการเจือจางหรือให้ความร้อน จะสามารถสร้างแหล่งเชื้อเพลิง เช่น ก๊าซดีเซล และก๊าซโซลีน Alberta’s Athabasca oil sands ถึงแม้ว่า oil sands สามารถพบได้ในหลายๆที่ทั่วโลก อย่างเช่น ประเทศเวเนซูเอล่า และสหรัฐฯ แต่แหล่งทรัพยากรที่ใหญ่ ที่สุดและมีพัฒนาการมากที่สุด อยู่ที่มณฑล Alberta ประเทศแคนาดา โดยมีแหล่งผลิตปิโตรเคมีอยู่ที่เมือง Athabasca นักวิเคราะห์เชื่อว่า Alberta มี oil sands อยู่มากถึง 170 พันล้านบาร์เรล และอาจจะสามารถเพิ่มการผลิตได้มากขึ้นถึง

Read More…

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

เงื่อนงำปัญหาของเชื้อมาลาเรียที่ดื้อยา

ที่มา: http://www.nih.gov/about/impact/index.htm โดย: Vicki Contie National Institute of Health รายงานว่า  นักวิจัยพบว่าการรักษาโรคมาเลเรียในขั้นต้นกำลังลด ประสิทธิภาพลงในทวีปเอเชีย  โดยค้นพบว่ามีจีโนมของปรสิตที่สามารถดื้อยาได้  การค้นพบดังกล่าวได้ทำให้ ทราบเงื่อนงำปัญหาในการป้องกันการขยายตัวของโรคมาเลเรียที่รุนแรงเกินแก้ไข ในแต่ละปี โรคมาเลเรียได้คร่าชีวิตผู้คนไปกว่าครึ่งล้านคน และทำให้มีผู้ติดเชื้อมากกว่า 200 ล้านคนในทั่วโลก และส่วนใหญ่ อาศัยอยู่ในภูมิภาคที่ร้อนชื้น การรักษาโดยใช้ยาซึ่งมีส่วนประกอบ ของสารอาติมิซินิน (Artemisinin) ได้ถูกนำมาใช้ตั้งแต่สิบกว่าปี ที่แล้วมา เพื่อช่วยลดการเสียชีวิตและการเจ็บป่วย แต่เจ้าหน้าที่ สาธารณสุขได้รับสัญาณเตือนโดยการเกิดขึ้นของปรสิตที่ดื้อสาร- อาติมิชินิน ซึ่งพบในผู้ป่วยในประเทศกัมพูชา และมีรายงานที่ยังไม่มี การยืนยันระบุไว้ว่า อาจมีการดื้อสารอาติมิชินินในประเทศใกล้เคียงด้วย อาทิ ประเทศไทยและประเทศพม่า และกำลังมีความพยายามใน หน่วยงานระหว่างประเทศที่จะรวบรวมปัญหาการดื้อยานี้อยู่– ( 45 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

รัฐบาลแคนาดาเร่งเพิ่ม R&D ทางอุตสาหกรรม

ที่มา: www.aaas.org นาย Gary Godyear รัฐมนตรีช่วยว่าการด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศแคนาดา ได้กล่าวในการประชุม the 38th Annual AAAS Forum on Science & Technology Policy ณ Ronald Reagan Building and International Trade Center เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2013 ในกรุงวอชิงตัน ดี ซี ว่า ปัจจุบันมีแนวโน้มการอพยพของนักวิจัยที่ มีความสามารถพิเศษเข้าไปยังประเทศแคนาดาเพิ่มขึ้น รวมถึงมีการ ให้พันธสัญญาในการเพิ่มการสนับสนุนการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเพิ่มขึ้นด้วย เขายอมรับว่า บริษัทในแคนาดายังล้าหลัง กว่าบริษัทในประเทศพัฒนาแล้วหลายๆประเทศ โดยเฉพาะในเรื่อง การลงทุนด้าน R&D ตามข้อมูลของ OECD  ซึ่งเขาเน้นว่ามี ความจำเป็นต้องปรับปรุงค่าใช้จ่ายทางธุรกิจด้านการวิจัยและ พัฒนาในภาคอุตสาหกรรมหลัก  ซึ่งพบว่ายังมีการลงทุนด้าน R&D ต่ำกว่าที่ OECD ระบุไว้

Read More…

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments