หน้าแรก คลังความรู้ คลังความรู้ 30 ปี สวทช. ตอนที่ 17 : รางวัลนักวิจัยดีเด่นระดับนานาชาติ และนักวิจัยดีเด่นระดับชาติ นักวิจัยอาวุโส และนักวิจัย
ตอนที่ 17 : รางวัลนักวิจัยดีเด่นระดับนานาชาติ และนักวิจัยดีเด่นระดับชาติ นักวิจัยอาวุโส และนักวิจัย
12 ธ.ค. 2564
0
30 ปี สวทช.
คลัง VDO

รางวัลนักวิจัยดีเด่นระดับนานาชาติ และนักวิจัยดีเด่นระดับชาติ

นักวิจัยอาวุโส และนักวิจัย

เผยแพร่เกียรติคุณและรางวัลของนักวิจัยอาวุโส และนักวิจัย ประกอบด้วย

ระดับนานาชาติ และชาติ

ดร.กุลฤดี แสงสีทอง ผลงานเรื่อง “Cassava starch-based hydrogel as a superdisintegrant in drug tablets”

ดร.ธิดารัตน์ นิ่มเชื้อ ผลงานเรื่อง “ENZbleach : เอนไซม์ฟอกเยื่อกระดาษจากแบคทีเรียในลำไส้ปลวก”, เอนอีซ : เอนไซม์อัจฉริยะเพื่อกระบวนการผลิตสิ่งทอที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ เอนอีช (ENZease): เอนไซม์อัจฉริยะทูอินวันสำหรับกระบวนการผลิตสิ่งทอที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ดร.อนันต์ลดา โชติมงคล ผลงานเรื่อง “ระบบติดตามและประเมินผู้ที่มีความเสี่ยงต่อโรคติดเชื้อ COVID-19 (DDC-Care)”

ดร.อัญชลี จันทร์แก้ว ผลงานเรื่อง “การพัฒนาและการออกแบบตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์เพื่อใช้ในปฏิกิริยาการเปลี่ยน 5-hydroxymethylfurfural (HMF) เป็นสารชีวเคมีมูลค่าสูง”

ดร.วีระวัฒน์ แช่มปรีดา ผลงานเรื่อง “การพัฒนาและวิศวกรรมเอนไซม์และจุลินทรีย์จากฐานความหลากหลายทางชีวภาพเพื่ออุตสาหกรรมไบโอรีไฟเนอรีและเศรษฐกิจฐานชีวภาพ”

ดร.ผุศนา หิรัญสิทธิ์ ผลงานเรื่อง “การประยุกต์ใช้การคำนวณด้วยระเบียบวิธี Solid-State DFT สำหรับออกแบบและพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาระดับนาโนและวัสดุโครงสร้างนาโนให้สามารถใช้เพื่อการพัฒนาด้านพลังงานทดแทนและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน”

ดร.บรรพท ศิริเดชาดิลก ผลงานเรื่อง “การพัฒนาเทคนิคการสร้างไวรัส โดยไม่จำเป็นต้องดัดแปลงรหัสพันธุกรรมใด ๆ ตรงรอยต่อ (Seamless DNA Assembly)”

ดร.จิตติมา พิริยะพงศา ผลงานเรื่อง “การใช้เทคนิคชีวสารสนเทศในการศึกษาบทบาทและกลไกใหม่ของไมโครอาร์เอ็นเอในการจับกับตำแหน่งเป้าหมายบนโปรโมเตอร์”

แชร์หน้านี้: