วัคซีนโควิด-19
ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์
ฝ่ายสร้างสรรค์สื่อและผลิตภัณฑ์
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
เอกสารนี้ทำขึ้นเพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับวัคซีนโรคโควิด-19
สามารถเผยแพร่ได้ในวงกว้างโดยไม่ต้องขออนุญาต
*** ขอสงวนสิทธิ์ห้ามนำไปตีพิมพ์เพื่อจัดจำหน่ายทางการค้า ***
เผยแพร่ครั้งแรก มีนาคม พ.ศ. 2564
Disclaimer: หนังสือ (คู่มือ) ที่มีเนื้อหาจำเพาะเกี่ยวกับวัคซีนต่อโรคโควิด-19 ฉบับนี้ เรียบเรียงขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์และมีนาคม พ.ศ. 2564 โดยอ้างอิงจากข้อมูลการศึกษาวิจัยเท่าที่มีอยู่ ตั้งเป้าหมายเพื่อให้ข้อมูลเบื้องต้นทั้งที่เกี่ยวข้องกับวัคซีนทั่วๆ ไปและที่จำเพาะกับวัคซีนโควิด-19 ทั้งเรื่องการออกฤทธิ์ของวัคซีน ประสิทธิภาพ รวมถึงความเสี่ยง และตอบข้อสงสัยหรือคำถามที่พบได้บ่อยเกี่ยวกับวัคซีนดังกล่าว โดยเรียบเรียงจากเนื้อหาที่ปรากฏในแหล่งอ้างอิงที่มีความน่าเชื่อสูงหลายแหล่ง (ดังตัวอย่างท้ายเล่ม) เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความแม่นยำและเชื่อถือได้มากที่สุด ทั้งนี้สำหรับข้อมูลการปฏิบัติตนบางอย่างที่แตกต่างออกไป ให้ถือปฏิบัติตามประกาศของศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กระทรวงมหาดไทย (ศบค.มท.)
ดาวน์โหลดหนังสือ
สารบัญ |
วัคซีนช่วยป้องกันโรคได้อย่างไร? |
- การฉีดวัคซีนคืออะไร?
- ระบบภูมิคุ้มกันสู้กับการติดเชื้อได้อย่างไร?
- การฉีดวัคซีนช่วยป้องกันโรคได้อย่างไร?
- การป่วยเป็นโควิด-19 ตามธรรมชาติดีกว่าฉีดวัคซีนหรือไม่?
|
ชนิดและองค์ประกอบในวัคซีน |
- วัคซีนโควิด-19 มีกี่ชนิด? อะไรบ้าง?
- “ภูมิคุ้มกันหมู่” คืออะไร?
- วัคซีนโควิด-19 มีส่วนประกอบอะไรบ้าง?
- มีผลิตภัณฑ์จากสัตว์อยู่ในวัคซีนโควิด-19 ด้วยหรือไม่?
|
ภูมิคุ้มกันจากวัคซีน |
- หลังจากฉีดวัคซีนแล้ว ยังป่วยเป็นโควิด-19 ได้อีกได้หรือไม่?
- ป่วยเป็นโควิด-19 จากการฉีดวัคซีนได้หรือไม่?
- หลังจากฉีดวัคซีนจะมีภูมิคุ้มกันต่อโควิด-19 ได้นานเท่าใด?
- หลังจากฉีดวัคซีนโควิด-19 ยังแพร่เชื้อไวรัสซาร์ส-โควี-2 ให้แก่ผู้อื่นได้หรือไม่?
- หากไม่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงของโรคโควิด-19 ยังจำเป็นต้องฉีดวัคซีนด้วยหรือไม่?
- หากเคยเป็นโรคโควิด-19 แล้ว เหตุใดจึงต้องฉีดวัคซีนอีก?
|
ใครต้องรับวัคซีนและรับอย่างไร? |
- ใครควรจะเป็นผู้ได้รับวัคซีนโควิด-19?
- มีสถานการณ์ใดหรือไม่ที่ไม่ควรรับการฉีดวัคซีน?
- จำเป็นต้องฉีดวัคซีน 2 โดสหรือไม่? และควรจะฉีดเมื่อใด?
- ทำไมจึงมีวัคซีนหลายชนิดสำหรับโควิด-19?
|
ความปลอดภัยของวัคซีน |
- จะแน่ใจได้อย่างไรว่า วัคซีนโควิด-19 ปลอดภัย?
- การเร่งรัดผลิตวัคซีนโควิด-19 มีส่วนทำให้ความปลอดภัยลดลงหรือไม่?
- วัคซีนยังใหม่มาก จะรู้เกี่ยวกับผลข้างเคียงในระยะยาวได้อย่างไร?
- วัคซีนแบบ mRNA ออกฤทธิ์อย่างไร?
- วัคซีนแบบ mRNA จะไปเปลี่ยน DNA ของผู้ได้รับวัคซีนได้หรือไม่?
- ในเมื่อเป็นเทคโนโลยีใหม่ จะแน่ใจได้อย่างไรว่าปลอดภัย?
- ทำไมเด็กจึงไม่อยู่ในอันดับต้นๆ ของผู้ต้องรับวัคซีนโควิด-19 ?
- คนตั้งครรภ์หรือให้นมบุตรรับวัคซีนโควิด-19 ได้หรือไม่?
- เหตุใดไม่ฉีดวัคซีนบางชนิดให้กับคนอายุ 60 ปีขึ้นไป?
- มีความจำเป็นต้องตรวจภูมิต้านทานก่อนหรือหลังฉีดวัคซีนหรือไม่?
- ควรฉีดวัคซีนโควิด-19 พร้อมกับวัคซีนไข้หวัดใหญ่หรือไม่?
- ฉีดวัคซีนเข็ม 1 และเข็ม 2 ต่างชนิดกันได้หรือไม่?
|
การผลิต, ขนส่ง และการควบคุมคุณภาพของวัคซีน |
- การอนุมัติการผลิตวัคซีนโควิด-19 ทำอย่างไร?
- ขั้นตอนการผลิตวัคซีนโควิด-19 ทำอย่างไร?
- การบรรจุหีบห่อ, เก็บรักษา และขนส่งวัคซีนโควิด-19 ทำได้อย่างไร?
- การควบคุมคุณภาพของวัคซีนโควิด-19 ทำได้อย่างไร?
|
ภาคผนวก |
- ตารางเปรียบเทียบวัคซีนจากผู้ผลิตรายต่างๆ
- ข้อควรระวังและผลข้างเคียงจากวัคซีนชนิดต่างๆ
- สายพันธุ์ซาร์ส-โควี-2 ที่กลายพันธุ์
- ข้อมูลการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ของไทยและประเทศต่างๆ ทั่วโลก
|