หน้าแรก คลังความรู้ คลังความรู้ การจัดการความรู้ (KM) benchmarking ที่มีประสิทธิภาพมี 5 ความท้าทายหลัก
benchmarking ที่มีประสิทธิภาพมี 5 ความท้าทายหลัก
17 ส.ค. 2564
0
การจัดการความรู้ (KM)

1. ระบุแหล่งและ benchmarks ที่ถูกต้อง

2. ค้นหาองค์กรที่มีการปฏิบัติที่เป็นเลิศเพื่อเปรียบเทียบด้วย

3. สื่อสารคุณค่าสำหรับ benchmarking
Benchmarking เป็นกระบวนการของการเปรียบเทียบและการวัดองค์กรกับองค์กรอื่น ๆ เพื่อให้ได้รายละเอียดของหลักปรัชญา, การปฏิบัติ และการวัดซึ่งช่วยองค์กรปรับปรุงการปฏิบัติให้ดีขึ้น มีหลายเหตุผลที่องค์กร benchmark ได้แก่
– ปรับปรุงผลประโยชน์และประสิทธิภาพให้ดีขึ้น
– เร่งและจัดการการเปลี่ยนแปลง
– สร้างวัตถุประสงค์ที่ขยาย
– ประสบผลสำเร็จในการพัฒนาหรือนวัตกรรม
– ได้มุมมองใหม่

4. ชี้แนะวิธีที่จะใช้ benchmarks สนับสนุนการตัดสินใจ
หลายองค์กรมีแนวโน้มที่จะใช้ benchmarking เพื่อดึงข้อมูลหรือระบุช่องว่างสำหรับกิจกรรมเกี่ยวกับกลยุทธ์ เช่น การสร้างกรณีธุรกิจเพื่อโครงการที่จำเพาะ อย่างไรก็ตามผู้ตัดสินใจควรยังใช้ benchmarks เพื่อให้แรงบันดาลใจเพื่อหนทางใหม่ของการทำสิ่งต่าง ๆ, บริบทสำหรับการวัดการปฏิบัติ และแนวโน้มสำหรับการวางแผนเชิงกลยุทธ์และการพัฒนาโครงการ

ตัวอย่างเช่น หลายองค์กรสามารถใช้ performance benchmarking เพื่อรวบรวมข้อมูลซึ่งช่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการของกระบวนการหรือกิจกรรม, เนื้อหาสำหรับสร้างและติดตามวัตถุประสงค์ และลำดับความสำคัญโอกาสการปรับปรุงให้ดีขึ้น

5. การวางแผนและการกำหนดขอบเขตกิจกรรม benchmarking
เพื่อการจัดการโครงการ benchmarking ได้อย่างประสบผลสำเร็จ (ทั้ง performance และ practice) หลายองค์กรต้องสื่อสารอย่างชัดเจนถึงขอบเขต

ที่มา: Holly Lyke-Ho-Gland (July 12, 2021). 5 Biggest Benchmark Problems and How To Fix Them. Retrieved August 6, 2021, from https://www.apqc.org/blog/5-biggest-benchmark-problems-and-how-fix-them

แชร์หน้านี้: