วงจรการจัดการความรู้ (วงจร KM) ของบริษัท Xerox Corporation
19 ก.ย. 2557
0
การจัดการความรู้ (KM)
วงจรการจัดการความรู้ (วงจร KM) ประกอบด้วยองค์ประกอบหลักๆ ทั้ง 6 ได้แก่
- การจัดการการเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรม (Transition and Behavior Management)
– ผู้บริหารระดับสูงจะต้องให้การสนับสนุนอย่างเต็มที่รวมถึงมีส่วนร่วมกับกิจกรรมต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
– จัดตั้งทีมงานเพื่อทำหน้าที่ดำเนินการวางแผนและจัดกิจกรรมต่างๆ
– กำหนดว่าอะไรคือปัจจัยแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factors) ของการจัดการความรู้ และต้องมั่นใจได้ว่าปัจจัยเหล่านี้มีอยู่หรือสามารถสร้างให้เกิดขึ้นได้ภายในองค์กร
– ผู้บริหารระดับสูงต้องเป็นแบบอย่างที่ดี (Role model) ในการแลกเปลี่ยนและจัดการความรู้
– สร้างสภาพแวดล้อมภายในองค์กรที่เปิดโอกาสให้พนักงานสามารถลองผิดลองถูกได้และเปิดกว้างให้มีการทดลองนำเอาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์มาปฏิบัติ - การสื่อสาร (Communication)
– เนื้อหาของเรื่องที่ต้องการจะสื่อสาร
– กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการจะสื่อสาร
– ช่องทางในการสื่อสาร - กระบวนการและเครื่องมือ (Process and Tools)
– ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Community of Practice; COP)
– การสับเปลี่ยนงาน (Job Rotation) และการยืมตัวบุคคลมาช่วยงาน (Secondment)
– เวทีสำหรับการแลกเปลี่ยนความรู้ (Knoeledge Forum) - การฝึกอบรมและการเรียนรู้ (Training and Learning)
- การวัดผล (Measurements)
- การยกย่องชมเชยและให้รางวัล (Recognition and Rewards)
บรรณานุกรม
บุญดี บุญญากิจ, นงลักษณ์ ประสพสุขโชคชัย, ดิสพงศ์ พรชนกนาถ, และปรียววรณ กรรมล้วน. (2548). การจัดการความรู้…จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ.
19 ก.ย. 2557
0
แชร์หน้านี้: