หน้าแรก คลังความรู้ คลังความรู้ การจัดการความรู้ (KM) วิธีการและเครื่องมือ KM
วิธีการและเครื่องมือ KM
19 ม.ค. 2554
0
การจัดการความรู้ (KM)

Asian Productivity Organization (APO) ได้เสนอวิธีการและเครื่องมือการจัดการความรู้เพื่อให้หน่วยงานพิจารณาเลือก ใช้ให้เหมาะสมตามกระบวนการของการจัดการความรู้ 6 ขั้นตอน ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 : การค้นหาว่าองค์กรมีความรู้อะไรบ้าง ในรูแบบใด อยู่ที่ใคร และความรู้จำเป็นต่อองค์กรมีอะไรบ้าง (Identifying the Knowledge)
วิธีการและเครื่องมือที่เสนอเพื่อพิจารณา

  • APO Knowledge Management Assessment Tool
  • Knowledge Cafes
  • Communities of Practice
  • Advanced Search Tools
  • Knowledge Clusters
  • Expert Locator
  • Collaborative Virtual Workspaces
  • Knowledge Mapping
  • KM Maturity Model
  • Mentor/Mentee

 

ขั้นตอนที่ 2 : การสร้างความรู้ (Creating Knowledge)
วิธีการและเครื่องมือที่เสนอเพื่อพิจารณา

 

ขั้นตอนที่ 3 : การจัดเก็บความรู้ (Storing Knowledge)
วิธีการและเครื่องมือที่เสนอเพื่อพิจารณา

  • Learning Reviews
  • After Action Reviews
  • Knowledge Cafes
  • Communities of Practice
  • Taxonomy
  • Document Libraries
  • Knowledge Bases (Wikis, etc.)
  • Blogs
  • Voice and VOIP
  • Knowledge Clusters
  • Expert Locator
  • Collaborative Virtual Workspaces
  • Knowledge Portal
  • Video Sharing

 

ขั้นตอนที่ 4 : การแลกเปลี่ยนและแบ่งปันความรู้ (Sharing Knowledge)
วิธีการและเครื่องมือที่เสนอเพื่อพิจารณา

  • Peer Assist
  • Learning Reviews
  • After Action Reviews
  • Storytelling
  • Communities of Practice
  • Collaborative Physical Workspaces
  • Knowledge Cafes
  • Communities of Practice
  • Taxonomy

 

ขั้นตอนที่ 5 : การแลกเปลี่ยนและแบ่งปันความรู้ (Sharing Knowledge)
วิธีการและเครื่องมือที่เสนอเพื่อพิจารณา

  • Document Libraries
  • Knowledge Bases (Wikis, etc.)
  • Blogs
  • Social Networking Services
  • Voice and VOIP
  • Knowledge Clusters
  • Expert Locator
  • Collaborative Virtual Workspaces
  • Knowledge Portal
  • Video Sharing
  • Mentor/Mentee

 

ขั้นตอนที่ 6 : การนำความรู้ไปใช้ (Applying Knowledge)
วิธีการและเครื่องมือที่เสนอเพื่อพิจารณา

  • Peer Assist
  • Collaborative Physical Workspaces
  • Knowledge Cafes
  • Communities of Practice
  • Taxonomy
  • Document Libraries
  • Knowledge Bases (Wikis, etc.)
  • Blogs
  • Advanced Search
  • Knowledge Clusters
  • Expert Locator
  • Collaborative Virtual Workspaces
  • Knowledge Worker Competency Plan
  • Mentor/Mentee
  • Knowledge Portal

ทั้งนี้ จะได้นำเสนอวิธีการและเครื่องมือแต่ละประเภทต่อไป


รายการอ้างอิง: Asian Productivity Organization. Knowledge Management Tools and Tecniques Manual. Japan : Asian Productivity Organization, 2010.

แชร์หน้านี้: